ฟอสโฟลิพิด (อังกฤษ:Phospholipids) เป็นโมเลกุลที่เกิดจาก 4 ส่วนประกอบ คือ

  1. กรดไขมัน,
  2. ประจุลบของฟอสเฟตกรุ๊ป,
  3. แอลกอฮอล์ และ
  4. ส่วนที่เป็นแกนกลาง (backbone)
Two schematic representations of a phospholipid.

ฟอสโฟลิพิดที่มีกลีเซอรอลเป็นแกนกลางเรียกว่า กลีเซอโรฟอสโฟลิพิด (glycerophospholipid) หรือ ฟอสโฟกลีเซอไรด์ มีแบบเดียวของฟอสโฟลิพิดเท่านั้นที่มีแกนกลางเป็น สฟิงโกซีน (sphingosine) คือ สฟิงโกไมอีลิน (sphingomyelin) ฟอสโฟลิพิดเป็นส่วนประกอบหลักของเซลล์ เมมเบรนซึ่งก็คือไกลโคลิพิด (glycolipid) และ คอเลสเตอรอล

ฟอสโฟกลีเซอไรด์ (Phosphoglycerides) แก้

ใน ฟอสโฟกลีเซอไรด์ คาร์บอกซิล กรุ๊ปของแต่ละกรดไขมัน จะถูกเอสเตอริไฟด์ เป็น ไฮดรอกซิล กรุ๊ป ที่ คาร์บอน-1 และ คาร์บอน-2 ฟอสเฟต กรุ๊ป จะเชื่อมติดกับ คาร์บอน-3 โดย เอสเตอร์ ลิงก์ (ester link) โมเลกุลนี้มีชื่อว่า ฟอสฟาติเดต (phosphatidate) ซึ่งมีอยู่ในปริมาณเล็กน้อยในเมมเบรน และมันก็เป็น สารตั้งต้น สำหรับ ฟอสโฟกลีเซอไรด์ อื่นๆ

ฟอสฟาติดิล คอลีน (Phosphatidyl choline) แก้

 
ฟอสฟาติดิล คอลีน เป็นส่วนประกอบหลักของ หัวไช้เท้า

ฟอสฟาติดิล เอตทาโนลามีน (Phosphatidyl ethanolamine) แก้

 
ฟอสฟาติดิล เอตทาโนลามีน เป็นส่วนประกอบหลักของ เซฟาลิน (cephalin)

ฟอสฟาติดิล อินโนซิทอล (Phosphatidyl inositol) แก้

 

ฟอสฟาติดิล เซอรีน (Phosphatidyl serine) แก้

 

ไดฟอสฟาติดิล กลีเซอรอล (Diphosphatidyl glycerol) แก้

 

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Berg, J.M., J.L. Tymoczko, and L. Stryer, Biochemistry. 5th ed. 2002, New York: W.H. Freeman. xxxviii, 974, [976] (various pagings)