ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอมราชจงเจริญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แจ้งละเมิดลิขสิทธิ์ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ถูกแทน
บรรทัด 1:
{{ละเมิดลิขสิทธิ์|url=http://blog.wordthai.com/เพลงจอมราชจงเจริญ/ |วันที่=23/2/2563 |หมายเหตุ= }}
{{ต้องการอ้างอิง}}{{เก็บกวาด}}
{{ชื่ออื่น|เพลงสรรเสริญพระมหากษัตริย์ในประเทศไทย|ความหมายหลัก|เพลงสรรเสริญพระบารมี}}
{{กล่องข้อมูล เพลงชาติ
| title = เพลงจอมราชจงเจริญ
| transcription =จอม-ราช-จง-จะ-เริน,<br/>จอม-ราช-ชะ-จง-จะ-เริน
| translation =
| alt_title = เพลงชาติสยาม
| trans_alt_title =
| alt_title_2 = เพลงสรรเสริญพระบารมี
| trans_alt_title_2 =
| image = เพลงสรรเสริญพระบารมีความที่1.jpeg
| image_size = 300
| caption = คำร้องสรรเสริญพระบารมี สมัยรัชกาลที่ 4
| NAcountry = {{flagicon|Siam}} สยาม
| RAcountry = {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
| author = [[พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)]]
| lyrics_date =
| composer = [[ก็อดเซฟเดอะคิง]]
| music_date =
| adopted = พ.ศ. 2394
| until = พ.ศ. 2411
| sound = เพลงสรรเสริญฯจอมราชจงเจริญ.oga
| sound_title = จอมราชจงเจริญ (ขับร้อง)
}}
'''จอมราชจงเจริญ''' คือชื่อ
เพลงสรรเสริญพระบารมี และเพลงชาติ เพลงแรกของสยามซึ่งในอดีตตอนต้น[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สยามได้ใช้เพลงประโคมอย่างโบราณแทนเพลงสรรเสริญพระบารมีเพื่อใช้เป็นเพลงถวายพระเกียรติ และเครื่องประโคมที่สำคัญได้แก่ [[มโหระทึก]] [[สังข์]] [[แตรงอน]] [[ปี่ไฉน]] [[กลองชนะ]] และ[[อื่นๆ]] ต่อมาเมื่อขึ้นรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] ซึ่งเป็นยุคทองของการเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่ง [[เพลงสรรเสริญพระบารมี]]
 
อย่างไทยที่ใช้การประโคมเป็นอันต้องยุติบทบาทลง เนื่องด้วยการรับ[[วัฒนธรรม]]อย่างฝรั่งซึ่งมีที่มาจากช่วงปีพ.ศ. 2394 ได้มีครูฝึก[[ทหาร]][[ชาวอังกฤษ]]ชื่อ อิมเปย์ (Impey) เดินทางเข้ามาเพื่อทำหน้าที่ฝึก[[ทหาร]]ในวังหลวง]] ต่อมา[[ทหาร]][[อังกฤษ]]อีกนายหนึ่งชื่อ โทมัสน็อกซ์ (Thomas Knox) ก็ได้เดินทางเข้ามาและพระบาท[[สมเด็จพระปิ่นเกล้า]]ทรงให้ทำหน้าที่ฝึกทหารในวังหน้า ทั้งคู่เป็นผู้ที่นำ[[เพลง]] [[ก็อดเซฟเดอะคิง]] ซึ่งถือเป็นเพลงถวายพระเกียรติพระนางเจ้าวคตอเรียแห่ง[[ประเทศอังกฤษ]]มาใช้ใน[[กรุงสยาม]] แต่มีการประพันธ์เนื้อร้องใหม่เป็น[[ภาษาอังกฤษ]]เพื่อถวายพระเกียรติ[[รัชกาลที่ 5]] ซึ่งปรากฏหลักฐานสำคัญอยู่ในหนังสือ สยามเรคคอร์ด ต่อมา [[พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)]] ได้ประพันธ์เนื้อร้องขึ้นใหม่เป็น[[ภาษาสยาม]]ตามฉันทลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพโดยได้ตั้งชือ[[เพลง]]ขึ้นใหม่ว่า [[จอมราชจงเจริญ]] จนกระทั่งขึ้นรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 5]] พระองค์ท่านได้เสด็จประพาสเมืองสิงคโปรและ[[เกาะชวา]]ในปี พ.ศ. 2414 ขณะที่พระองค์ประทับอยู่ที่สิงคโปร ซึ่งในเวลานั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ[[อังกฤษ]] [[ทหาร]][[อังกฤษ]]จึงได้ใช้เพลง [[ก็อดเซฟเดอะคิง]] บรรเลงเป็นเพลงถวายพระเกียรติรับเสด็จแบบเดียวกับที่ใช้ใน[[กรุงสยาม]] ครั้นเมื่อพระองค์เสด็จถึงเมือง[[ปัตตาเวีย]] [[เกาะชวา]] ซึ่งในขณะนั้นเป็น[[อาณานิคม]]ของ[[ฮอลันดา]] [[ทหาร]][[ชาวฮอลันดา]]จึงทูลถามพระองค์ว่าจะให้ใช้[[เพลง]]อะไรบรรเลงเพื่อเป็นเพลงถวายพระเกียรตรับเสด็จ พระองค์จึงทรงสั่งให้บรรเลงเพลง [[ก็อดเซฟเดอะคิง]] เช่นเดียวกับใน[[กรุงสยาม]] [[ทหาร]][[ชาวฮอลันดา]]จึงทูลถามอีกครั้งว่า สยามมิได้ตกเป็นเมืองขึ้นของ[[อังกฤษ]] ทำไมจึงใช้[[เพลง]] [[ก็อดเซฟเดอะคิง]] เมื่อพระองค์ทรงได้ยินเช่นนั้นก็ตกพระทัย และสั่งมิให้มีการบรรเลงเพลง [[ก็อดเซฟเดอะคิง]] เป็น[[เพลง]]เกียรติยศรับเสด็จนับตั้งแต่นั้นเป็นตนมา เมื่อเสด็จนิวัติกลับพระนครจึงได้มีการประชุมครูดนตรีเพื่อสรรหาเพลงสรรเสริญพระบารมีแทนเพลง [[ก็อดเซฟเดอะคิง]] โดยได้มีการเลือก[[ทำนอง]]เพลง[[บุหลันลอยเลื่อน]] บทพระ[[ราช]]นิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ซึ่งเรียกกันว่า "เพลงพระสุบิน" มาใช้เป็นทำนอง และให้[[เฮวุดเซน]] (Heutsen) ครูดนตรีในกรม[[ทหาร]]มหาดเล็ก [[ชาวฮอลันดา]] เรียบเรียงใหม่ให้ออกแนวดนตรีตะวันตกเพื่อใช้กับแตรฝรั่งไปพลางก่อน