ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
นักเขียน (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 76:
ถ้าแผ่นดินไหวเกิดขึ้นใต้ทะเล แรงสั่นสะเทือนอาจจะทำให้เกิดเป็นคลื่นขนาดใหญ่ที่เรียกว่า "[[สึนามิ]]" ({{lang-ja|津波}}, Tsunami) มีความเร็วคลื่น 600-800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในทะเลเปิด ส่วนใหญ่คลื่นจะมีความสูงไม่เกิน 1 เมตร และสังเกตได้ยาก แต่จะมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อเคลื่อนถึงใกล้ชายฝั่ง โดยอาจมีความสูงถึง 60 เมตร สามารถก่อให้เกิด[[น้ำท่วม]] สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงกับสิ่งก่อสร้างที่ติดอยู่ชายฝั่งทะเล
 
ล่าสุด เมื่อช่วงเช้าวันที่ 21 พย. 2562 แผ่นดินไหว 5.9 อาฟเตอร์ช็อก 6.4 ที่ลาว สั่นสะเทือนถึงตึกสูงเมืองกรุง คอนโดนนทบุรี​  อ้างอิงจาก [ [[:ไฟล์:///C:/Users/Miki/Desktop/ https:/medhubnews.com/ดูบทความ-59367-แผ่นดินไหวอาฟเตอร์ช็อกที่laosสั่นสะเทือนถึงตึกสูง| https://medhubnews.com/ดูบทความ-59367-แผ่นดินไหวอาฟเตอร์ช็อกที่laosสั่นสะเทือนถึงตึกสูง]]  ] [[ไฟล์:Hokkaido Sapporo Odori Park.jpg|200px|thumb|left|ที่ว่างกลางเมือง[[ซัปโปโร]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] สามารถใช้หลบภัยจากแผ่นดินไหว และการพังถล่มของตึก]]
== การป้องกันความเสียหาย ==
[[ไฟล์:Hokkaido Sapporo Odori Park.jpg|200px|thumb|left|ที่ว่างกลางเมือง[[ซัปโปโร]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] สามารถใช้หลบภัยจากแผ่นดินไหว และการพังถล่มของตึก]]
ในปัจจุบันมีการสร้างอาคาร [[ตึกระฟ้า]]ใหม่ ๆ บนหินแข็งในเขตแผ่นดินไหว อาคารเหล่านั้นจะใช้โครงสร้าง[[เหล็กกล้า]]ที่แข็งแรงและขยับเขยื้อนได้ มีประตูและหน้าต่างน้อยแห่ง บางแห่งก็มุงหลังคาด้วยแผ่นยางหรือ[[พลาสติก]]แทนกระเบื้อง ป้องกันการตกลงมาของกระเบื้องแข็งทำให้ผู้คนบาดเจ็บ ถนนมักจะสร้างให้กว้างเพื่อว่าเมื่อเวลาตึกพังลงมาจะได้ไม่กีดขวางทางจราจร และยังมีการสร้างที่ว่างต่าง ๆ ในเมือง เช่น [[สวนสาธารณะ]] ซึ่งผู้คนสามารถจะไปหลบภัยให้พ้นจากการถล่มของอาคารบ้านเรือนได้
[[ไฟล์:Rubens - Vulcano forjando los rayos de Júpiter.jpg|150px|thumb|right|ชาวโรมันโบราณเชื่อว่า [[เทพวัลแคน]] ทำให้เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด]]