ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เยื่อหุ้มนิวเคลียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Diagram human cell nucleus.svg|thumb|350px|นิวเคลียสของเซลล์มนุษย์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสอยู่นอกสุด มีรูพรุน]]
'''เยื่อหุ้มนิวเคลียส''' ({{lang-en|Nuclear envelope, perinuclear envelope, nuclear membrane, nucleolemma หรือ karyotheca}}) เป็นชั้นของลิพิด ไบเลเยอร์ ที่ห่อหุ้ม[[สารพันธุกรรม]]ในเซลล์[[ยูคาริโอต]] ทำหน้าที่เป็น[[ฉนวน]]ทางชีวภาพ แยกส่วนของ[[นิวเคลียส]]ออกจาก[[ไซโตซอล]] ที่เยื่อหุ้มจะมีรูพรุน ที่ควบคุมการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม และสารอื่นๆระหว่างนิวเคลียสกับ[[ไซโทพลาสซึม]] ระหว่างเยื่อหุ้มทั้งสองด้านเป็นช่องว่าง (Perinuclear space) บนเยื่อหุ้มมีช่อง (Nuclear pore) เชื่อมต่อกับ [[RER]] ซึ่งมีบทบาทในการส่งต่อ[[รหัสพันธุกรรมรหัสััััััััััััััพันธุกรรม]]ออกนอก[[นิวเคลียส]]เพื่อสร้าง[[โปรตีน]] จำนวนช่องนี้ขึ้นกับกิจกรรมของนิวเคลียส เซลล์[[โอโอไซต์]]ของ[[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]]มีมากถึง 70 ช่องต่อตารางไมครอน ในขณะที่เซลล์[[เม็ดเลือดขาว]]มีเพียง 3-4 ช่องต่อตารางไมครอน เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นเป็นชั้นลิพิด ไบเลเยอร์ เยื่อชั้นนอกต่อเนื่องกับ [[RER]] ส่วนเยื่อหุ้มชั้นในมีโปรตีนชนิดต่างๆฝังตัวอยู่
 
[[ไฟล์:The three layers of NE proteins.jpg|thumb|400px|โปรตีนสามชั้นที่เยื่อหุ้มนิวเคลียส nuclear pore complex (NPC) ประกอบด้วยเยื่อหุ้มชั้นนอกและชั้นใน Perinuclear space มองเห็นได้ชัดเจน INM proteins รวมทั้ง [[SUN domain|SUN1]], [[LAP2]], [[Emerin]], [[MAN1]] และ [[Lamin B receptor|LBR]]จะเชื่อมต่อกับ nuclear lamina Emerin, LAP2 and MAN1 ฝังอยู่ใน [[LEM domain]] ที่จับกับ [[BAF]] ([[barrier-to-autointegration factor]]) ซึ่งเป็นโปรตีนที่จับกับโครมาติน [[nuclear lamina]] อยู่ใต้ชั้นของเยื่อหุ้มชั้นใน นำข้อมูลมาจาก Chi et al. Journal of Biomedical Science 2009.<ref name="pmid19849840">{{cite journal |author=Chi YH, Chen ZJ, Jeang KT |title=The nuclear envelopathies and human diseases |journal=[[J. Biomed. Sci.]] |volume=16 |issue= |pages=96 |year=2009 |pmid=19849840 |pmc=2770040 |doi=10.1186/1423-0127-16-96 |url=http://www.jbiomedsci.com/content/16//96}}</ref>]]
 
เยื่อหุ้มชั้นในติดต่อกับ nuclear lamina ซึ่งเป็นเครือข่ายของ[[อินเตอร์มิเดียตฟิลาเมนต์]]ที่ประกอบด้วย[[ลามิน]]หลายชนิด (A, B1, B2, และ C) ลามินทำหน้าที่เป็นตำแหน่งที่โครโมโซมมาเกาะ และทำให้โครงสร้างของนิวเคลียสอยู่ตัว ช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มสองชั้น เรียกว่า [[perinuclear space]] (หรือ perinuclear cisterna, NE Lumen) กว้างประมาณ 20 - 40&nbsp;nm
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}