ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
หีหีหีหี
{{Infobox military conflict
| conflict = รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
| partof = [[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557]]
| image = [[ไฟล์:พลเอกประยุทธ์ประกาศยึดอำนาจ22 พฤษภาคม 2557.png|300px]]
| caption = พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] พร้อมผู้บัญชาการเหล่าทัพ ประกาศยึดอำนาจการปกครองประเทศ ทาง[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]]
| date = 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
| place = ราชอาณาจักรไทย
| result =
* จัดตั้ง[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]
* [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|คณะรัฐมนตรี]]และ[[การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557|วุฒิสภา]]สิ้นสุดลง
* [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] สิ้นสุดลง (ยกเว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์)
* [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557|รัฐธรรมนูญชั่วคราว]]ใช้บังคับ
* [[ประยุทธ์โอชา]] เป็นนายกรัฐมนตรี
| status =
| combatants_header =
| combatant1 = [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]
* [[กองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย]]
** [[กองทัพไทย]]
*** [[กองทัพบกไทย|กองทัพบก]]
*** [[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]]
*** [[กองทัพอากาศไทย|กองทัพอากาศ]]
** [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)|สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]]
| combatant2 = [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|รัฐบาลยิ่งลักษณ์]]
| commander1 = พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]]
* พลเอก [[ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร]]
** พลเรือเอก [[ณรงค์ พิพัฒนาศัย]]
** พลอากาศเอก [[ประจิน จั่นตอง]]
* พลตำรวจเอก [[อดุลย์ แสงสิงแก้ว]]
| commander2 = [[นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล]]
| commander3 =
| casualties3 =
| notes =
| campaignbox =
}}
{{wikisource|ประกาศกองทัพบก ฉบับที่ ๑/๒๕๕๗|ประกาศกองทัพบก ฉบับที่ 1/2557 (เรื่อง การประกาศใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก)}}
{{wikisource|ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๗|ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 1/2557 (เรื่อง การควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ)}}
 
'''รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557''' เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 เวลา 16:30 น. โดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) อันมีพลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เป็นหัวหน้าคณะ รัฐประหารโค่นรัฐบาลรักษาการ[[นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล]] นับเป็นรัฐประหารครั้งที่ 13 ในประวัติศาสตร์ไทย รัฐประหารดังกล่าวเกิดขึ้นหลัง[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557|วิกฤตการณ์การเมือง]]ซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม 2556 เพื่อคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ และอิทธิพลของ[[ทักษิณ ชินวัตร]] ในการเมืองไทย
 
ก่อนหน้านั้นสองวัน คือ วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] [[รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย|ผู้บัญชาการทหารบก]] ประกาศใช้[[กฎอัยการศึก]]ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่เวลา 3.00 น. กองทัพบกตั้ง[[กองอำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย]] (กอ.รส.) และให้ยกเลิก[[ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (พ.ศ. 2557)|ศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย]] (ศอ.รส.) ที่รัฐบาลยิ่งลักษณ์ตั้งขึ้น กอ.รส. ใช้วิธีการปิดควบคุมสื่อ ตรวจพิจารณาเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต และจัดประชุมเพื่อหาทางออกวิกฤตการณ์การเมืองของประเทศ แต่การประชุมไม่เป็นผล จึงเป็นข้ออ้างรัฐประหารครั้งนี้
 
หลังรัฐประหาร มีประกาศให้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] สิ้นสุดลงยกเว้นหมวด 2 [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60|คณะรัฐมนตรีรักษาการ]]หมดอำนาจ ตลอดจนให้ยุบวุฒิสภา จนเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557 มีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งให้มี[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา วันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภาฯ มี[[การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2557|มติเลือก]]พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี
 
หลายประเทศประณามรัฐประหารครั้งนี้ รวมทั้งมีการกดดันต่าง ๆ เช่น ลดกิจกรรมทางทหารและลดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บางประเทศวางตัวเป็นกลาง แต่คนไทยจำนวนหนึ่งแสดงความยินดี โดยมองว่าเป็นทางออกของวิกฤตการณ์การเมือง แต่ก็มีคนไทยอีกจำนวนหนึ่งที่ไม่เห็นด้วย เนื่องจากไม่เป็นไปตามวิถีประชาธิปไตย
 
== เบื้องหลัง ==