พระยมี

(เปลี่ยนทางจาก พระยามี)


พระยมี (สันสกฤต: यमी) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู ผู้ดูแลและรักษาแม่น้ำยมุนาและเป็นเทพแห่งน้ำ[1]หรืออีกพระนามคือ กลินทิ (อังกฤษ: Kalindi)[2]ในปรัมปราวิทยาฮินดู เชื่อว่าพระองค์เกี่ยวข้องกับพระกฤษณะ และเป็นฝาแฝดคู่กับพระยม ได้รับความนิยมในการบูชาในฐานะเทพแห่งน้ำคู่กับพระแม่คงคาและพระสุรัสวดี ในประเทศไทยพระนามของพระนางเป็นหนึ่งสระศักดิ์สิทธิ์ทั้งสี่สำหรับใช้แทนแม่น้ำยมุนาและในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย.

พระยมี
พระแม่ยมุนา
यामी
ตำแหน่งเทพีผู้รักษาแม่น้ำยมุนา
จำพวกเทพีผู้รักษาแม่น้ำยมุนา
สัปตสินธุ
เทวีในคณะ 64 โยคินี
อาวุธหม้อปูรณฆฏะ,ดอกบัว, พวงมาลัย, กมัณฑลุ, อักษะมาลา
สัตว์พาหนะเต่า
บิดาพระอาทิตย์
มารดานางศรัณยา
คู่ครองพระกฤษณะ
ศาสนา/ลัทธิศาสนาฮินดู
ศาสนาพุทธแบบทิเบต
ศาสนาพุทธแบบเนปาล
พระแม่ยมุนา
พระแม่ยมนาศิลปะคุปตะ พิพิธภัณฑ์แห่งชาตินิวเดลี
พระแม่ยุมนาในตาเลชุภวานีมนเทียร พระราชวังปาตัน ประเทศเนปาล หลังการบูรณะในปัจจุบัน.
พระแม่ยุมนาในตาเลชุภวานีมนเทียร พระราชวังปาตัน ประเทศเนปาล ก่อนการบูรณะในปัจจุบัน
พิพิธภัณฑ์ลินเดน ประเทศเยอรมนี.
พระแม่ยมนาศิลปะคุปตะ
ลักษณะทางประติมานวิทยาของพระแม่ยมุนา.

ประติมานวิทยา แก้

ในประติมานวิทยา พระนางยมุนามักจะปรากฏพระองค์คู่กับพระแม่คงคาในฐานะผู้รักษาและพิทักษ์เทวสถานเพื่อชำระล้างและขจัดอาถรรพณ์ของผู้ที่จะเข้ามาสักการะบูชาให้บริสุทธิ์[1] ในจิตรกรรมของประติมากรรมพระนางจะมีผิวสีคล้ำและทรงพาหนะเป็นเต่าในศิลปะโบราณมักจะทรงประทับยืนตริภังค์และทรงสัญญาลักษณ์หม้อปูรณฆฏะในหัตถ์ข้างหนึ่ง[1]ส่วนในศิลปะประเพณีนิยมอินเดียในปัจจุบันมักจะทรงเทพอาวุธคือบัวและปุษปะมาลา (พวงมาลัย).

เทวสถาน แก้

ปรัมปราวิทยา แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Dalal 2010, p. 398.
  2. Mani, Vettam (1975). Puranic Encyclopaedia: a Comprehensive Dictionary with Special Reference to the Epic and Puranic Literature. Motilal Banarsidass Publishers. p. 62. ISBN 978-0-8426-0822-0.