ผู้ใช้:Nattikan.ki/กระบะทราย

ณัฐติกานต์ กฤษหมื่นไวย
ชื่อเกิดณัฐติกานต์ กฤษหมื่นไวย
เกิด27 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 (30 ปี)
ที่เกิดประเทศไทย นครราชสีมา ประเทศไทย
อาชีพนักศึกษา

ณัฐติกานต์ กฤษหมื่นไวย ชื่อเล่น กิ๊ฟ

ประวัติ แก้

ณัฐติกานต์ กฤษหมื่นไวย ชื่อเล่น กิ๊ฟ ที่อยู่ปัจจุบัน 18 หมู่ 3 ต.หนองกระทุ่ม อ.เมือง จังหวัดนครราชสีมา

การศึกษา แก้

ตำแหน่งงานด้านไอทีที่สนใจ แก้

นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) [1]

ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาไปเป็นอย่างมาก ทำให้การใช้ IT เป็น ความจำเป็นขององค์กร ในแง่ของความสามารถในการแข่งขัน และความอยู่รอดขององค์กร 

ตำแหน่ง System Analyst ทำหน้าที่ในการศึกษาและประเมินผลระบบการทำงานในปัจจุบันของหน่วยงาน วิเคราะห์และออกแบบระบบงานของหน่วยงาน

อืนๆ แก้

บทควาทด้านไอที แก้

เรื่องที่ 1 เมื่ออยากเปลี่ยนมาทำงานสาย IT ต้องทำอย่างไร แก้

เชื่อได้เลยว่า 50% ของคนทำงาน คือ คนที่ทำงานไม่ตรงกับสาขาวิชาที่เรียนมา อาจจะเป็นเพราะความชอบส่วนตัว กับสิ่งที่เรียนมาเป็นสิ่งที่สวนทางกัน ทำให้เมื่อถึงเวลาหางานจริง คนทำงานเลือกที่จะหางานเกี่ยวกับสิ่งที่ตัวเองอยากทำมากกว่า งานบางตำแหน่งก็เปิดโอกาสให้คนหลายกลุ่มเข้ามาทำงาน แม้ว่าจะไม่มีความรู้ด้านนั้น ๆ เลย - ต้องทำอย่างไร? เมื่ออยากเปลี่ยนมาทำงานสาย IT ดูเหมือนว่าตำแหน่งงานนี้จะได้รับความนิยม แม้จะไม่ได้เป็นคนที่เรียนจบด้านนี้มา แต่คนทำงานหลายคนก็ได้รับโอกาสให้ทำงานด้านนี้ แต่ต้องทำอย่างไรจึงจะได้ทำงานนี้ และได้เรียนรู้ทักษะทางด้านงาน IT เพิ่มเติม เพราะตำแหน่งงาน IT บางทีก็ไม่ง่ายจนทุกคนสามารถทำได้ เมื่อรู้ตัวว่าอยากทำงานด้าน IT แม้ว่าจะไม่ได้เรียนจบสายตรงมา ไม่ว่าจะเป็นความชอบส่วนตัว หรือได้มีโอกาสไปฝึกงานมาก็ตาม ต้องทำอย่างไรจึงจะเปลี่ยนงานข้ามสายงาน และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมือนเป็นคนทำงาน IT มืออาชีพ - เรียนรู้เพื่อเพิ่มโอกาสในการหางาน เมื่อรู้ตัวว่างาน IT เป็นงานที่อยากทำเป็นอันดับหนึ่ง แม้ว่าจะมีงานประจำทำอยู่แล้วก็ตาม ให้เราลองหาโอกาสไปเรียนรู้เพิ่มเติม เช่น การลงเรียนวิชาที่เกี่ยวกับงาน IT ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรสั้น ๆ หรือลงเรียนในระดับปริญญาโท เพื่อเพิ่มความรู้ให้มากขึ้น หรือมากเพียงพอที่จะนำไปสมัครงานได้ บางคนอาจจะเรียนจบมาทางด้านภาษา แต่เลือกที่จะเรียนเพิ่มในเรื่อง Network หรือ Programmer ในระดับปริญญาโท เพียงเท่านี้ก็จะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้งานให้มีมากขึ้นแล้ว - ฝึกงานเพื่อหาประสบการณ์ หากต้องการหางานที่งานในปัจจุบันไม่สามารถให้ได้ ให้ลองหาโอกาสไปฝึกงานกับหน่วยงาน หรือสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับงาน IT ที่เราอยากทำ อาจจะเป็นช่วงเวลาว่างหลังเลิกงาน หรือเวลาอื่น ๆ ที่เราสามารถบริหารจัดการเวลาไม่ให้รบกวนเวลางานในปัจจุบัน วิธีการนี้เหมาะสำหรับเด็กจบใหม่ หรือคนที่ไม่มีประสบการณ์การทำงานในด้านนี้ ซึ่งต้องมีความพยายามมากกว่าคนอื่น ๆ เพื่อทำให้นายจ้างรู้สึกประทับใจในความตั้งใจของเรา แม้ว่าจะไม่ได้เรียนจบมาโดยตรง แต่เราก็พยายามที่จะเสริมประสบการณ์ให้มีมากขึ้น และทำให้ความพยายามที่จะเปลี่ยนมาทำงานในสายงาน IT เป็นเรื่องที่เป็นไปได้มากขึ้น - เปลี่ยนสายงานภายในองค์กร หากเป็นไปได้ให้ลองเปลี่ยนสายงานภายในบริษัทของของตัวเองดูก่อน ลองศึกษาทิศทาง และความเป็นไปได้ถึงโอกาสในการเปลี่ยนสายงาน ของเราว่ามีมากน้อยขนาดไหน หากเราเคยทำงานในสายงานการตลาด แต่อยากลองเปลี่ยนมาทำงานด้าน IT Support เพราะมีความสามารถ หรือมีประสบการณ์ในการทำงานด้านนี้มาก่อน ให้ลองคุยกับหัวหน้างานถึงความเป็นไปได้ หากบริษัทสนับสนุนและเปิดโอกาสมากพอ เราก็ไม่จำเป็นต้องลาออกจากบริษัท แต่ได้ทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เราชื่นชอบ อยู่ร่วมกับเพื่อนร่วมงานที่เข้าใจเราได้ต่อไป ทั้งบริษัทและคนทำงานเองต่างก็ได้ประโยชน์กันทั้งสองฝ่าย เพราะบริษัทก็ไม่ต้องเสียเวลาหาคนใหม่ และคนทำงานเองก็ได้งานทำโดยไม่ต้องลาออก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับว่าทางบริษัทสามารถเปิดรับคนในตำแหน่งงาน IT เพิ่มได้อีกหรือไม่ เพราะไม่เช่นนั้น หากเราต้องการทำงานด้านนี้จริง ๆ แต่ไม่มีตำแหน่งรองรับ ก็อาจจะต้องหางานใหม่ในองค์กรใหม่เปลี่ยนมาทำสายงาน-it - การเปลี่ยนงานจากสายงานอื่นไปสู่สายงาน IT เราต้องมั่นใจว่าเรามีความรู้ความสามารถ และมีความพยายามมากพอที่จะทำงานนั้นได้ หรือแม้ว่าไม่มีประสบการณ์ใด ๆ มาเลย เราอาจจะต้องสร้างความมั่นใจให้กับนายจ้างไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อโน้มน้าวใจให้นายจ้างเห็นว่าเราสามารถทำงานนี้ได้ แต่ก็ต้องเริ่มต้นจากตัวเราเอง เราต้องมีความมุ่งมั่นให้มากพอที่จะนำพาตัวเองไปสู่ความสำเร็จในการทำงาน อ้างอิง.[2][2]

เรื่องที่ 2 ระวังภัย Bot ระบาดหนัก แก้

Bot เป็นภัยคุกคามที่ระบาดหนักอย่างหนึ่งในกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะผู้ที่เข้าไปใช้งานอินเทอร์เน็ตเจ้า Bot นี้จะสร้างความรำคาญใจ โดยหลอกเราว่าเครื่องเราติดไวรัส เวิร์ม และมัลแวร์อื่น ๆ เพื่อให้เราซื้อสินค้า ของเขามาใช้งาน ภัยคุกคามเช่นนี้ เราจึงควรรู้เท่าทัน จะได้ไม่ตกเป็นเหยื่อง่าย ๆ มาทำความรู้จักกับ Bot กันเถอะ Bot เป็นคำที่ย่อมาจากคำว่า “Robot” ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทำงานในลักษณะที่เรียกว่า Agent โดยจะรอคำสั่งจากเครื่องหรือโปรแกรมอื่นที่สั่งหรือปลุกให้เครื่องที่มี Bot ติดตั้งอยู่ทำงาน ถ้าเครื่องของเราถูก Bot ติดเข้าไป เครื่องของเราก็จะถูกโปรแกรมหรือบุคคลอื่น ๆ สั่งงานให้ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งตามเจ้านายหรือบุคคลสั่ง เช่น ให้ส่งข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นชื่อ นามสกุล หรือข้อมูลบัตรเครดิต รวมไปถึงการเก็บข้อมูล จากการที่เรากดแป้นคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังจะบันทึกหรือส่งข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตกเป็นเหยื่ออีกด้วย เชื่อหรือไม่ว่า จากผลสำรวจทั่วโลกพบว่า มีเครื่องที่ตกเป็นเหยื่อของเจ้า Bot นี้มากกว่า 6 ล้านเครื่องเลยทีเดียวและส่วนใหญ่ Bot เหล่านี้ก็จะมาจากการที่เราเข้าไปใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น การดาวน์โหลดไฟล์ การรับ-ส่งอีเมล การเล่นเกมออนไลน์ ซึ่งการที่เราเข้าไปยังเว็บที่มี Bot ติดอยู่ก็จะทำให้เราติด Bot นี้ไปด้วย มาดูตัวอย่างของ Bot กัน “AntiSpyCheck” Bot หรือ Malware ตัวนี้จะคอยหลอกว่าเครื่องของเรามีไวรัส หรือมัลแวร์ และชักชวนให้เราติดตั้งหรือสแกนแบบออนไลน์ ซึ่งหากเราหลงเชื่อ คลิกตอบตกลงแล้วล่ะก็ มันจะติดตั้งโปรแกรมของมันที่เครื่องของเราทันที และจะแจ้งว่าเครื่องเรามีทั้งไวรัส มัลแวร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเวิร์ม โทรจัน และอื่น ๆ และยังแจ้งว่ามีบุคคลอื่น ๆ กำลังแอ็กเซสเครื่องของเราเพื่อ ดึงข้อมูลส่วนตัวของเรา ถ้าหากเราไม่ซื้อสินค้าของเขามาใช้งานมันก็จะเตือนเราเรื่อย ๆ สร้างความรำคาญใจอย่างมาก ยิ่งไปกว่านั้น ถึงแม้เครื่องเราจะมีโปรแกรมแอนตี้ไวรัสติดตั้งอยู่ก็ ไม่สามารถช่วยอะไรได้เลย แล้วเราจะกำจัดเจ้า Bot นี้ออกไปได้อย่างไร ระวังภัย-Bot-ระบาด วิธีการก็คือ การ Remove แบบ Manual โดยการลบและแก้ไขค่าต่าง ๆ ที่รีจีสทรี ซึ่งเป็นวิธีการที่ยาวมาก ต่อมาได้พบวิธีการที่ง่ายกว่าเดิม และมีประสิทธิภาพ มากกว่าเดิม นั่นคือ การใช้เครื่องมือเข้ามาช่วยดักจับพวก Bot หรือ Malware ต่าง ๆ โดยเครื่องมือเหล่านี้จะเป็นส่วนที่เข้าเสริมการทำงานในการตรวจจับ เพราะฉะนั้นไม่ต้องกลัวว่า จะไปรบกวนหรือมีผลกับแอนตี้ไวรัสที่ติดตั้งอยู่ในเครื่องเราก่อนหน้านี้ ซึ่งสามารถหาดาวน์โหลดได้ตามอินเทอร์เน็ตเช่น Norton AntiBot เมื่อเราติดตั้งแล้วเหมือนเพิ่มกำแพงให้เครื่องเราป้องกัน ไวรัสได้อีกชั้นนึง ทำงานร่วมกันโปรแกรม anti virus ที่มีอยู่แล้วในเครื่องของเราได้ทันที ที่สำคัญตัวไม่ใหญ่ และไม่กินทรัพยากรเครื่อง อ้างอิง.[2][2]

เรื่องที่ 3 เทคโนโลยี Cloud Computing แก้

Cloud Computing เป็นเทคโนโลยีที่ในปัจจุบันนี้กำลังได้รับการจับตามองอย่างมาก และกำลังอยุ่ในช่วงเริ่มต้น ซึ่งพร้อมที่จะพัฒนาให้เป็นธุรกิจที่ขยายวงกว้างมากขึ้นโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ โดยในปัจจุบันนี้นั้นเทคโนโลยี Cloud Computing นั้น ได้รับการสนับสนุนทางด้านปัจจัยในเรื่องของโครงข่ายข้อมูลที่กำลังพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ว โดยเจ้าเทคโนโลยีนี้สามารถเชื่อมต่อความเร็วสูงและรองรับข้อมูล มัลติมีเดียและสื่อดิจิตอลสมัยๆอย่างอื่นได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้ Cloud Computing นั้นสร้างความสนใจกับบรรดาเหล่าบริษัทน้อยใหญ่ขึ้นมาเป็นอย่างมาก โดยองค์ประกอบของการใช้บริการจาก Cloud Computing นั้น เพียงผู้ใช้งานนั้นมีเพียงแค่อินเตอร์เนทก็สามารถใช้งานบริการนี้ได้แล้ว ยิ่งในปัจจุบันนั้นมีผู้ที่ให้บริการต่างๆมากมายสำหรับธุรกิจขนาดเล็กไปจนถึง ขนาดใหญ่ โดยมีรูปแบบออกมาเพื่อ ตอบสนองความต้องการใช้งานมากแบบแยกชิ้นมากยิ่งขึ้น นั้นก็คือผู้ใช้งานนั้นสามารถเลือกใช้ประเภทการให้บริการ และจำนวน application ต่างๆ ตามความต้องการในการใช้งานจริง โดยจะเสียค่าใช้งานได้ตามปริมาณที่เราเลือกใช้งาน โดยการเข้ามาขของเทคโนโลยีนี้ในประเทศไทยนั้น เริ่มจะมีการพูดถึงและใช้งานอย่างแพร่หลายแล้วในปัจจุบันนี้ โดยไม่เพียงแค่องค์กรขนาดใหญ่เพียงเท่านั้น ทั้งธุรกิจขนาดเล็กรวมไปถึงบุคคลทั่วไปก็ยังทำการใช้บริการเหล่านี้อยู่ จึงทำให้ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีคลาวด์นี้นั้นได้ผลตอบรับค่อนข้างดีจากคนในทั่วทุกมุมโลก

อ้างอิง.[2] [2]












LAN Technology แก้

เครือข่ายแลน LAN (Local Area Network)เป็นรากฐานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วไปกล่าวคือ เครือข่ายโดยส่วนใหญ่จะมีระบบแลนเป็นองค์ประกอบหลัก เครือข่ายแบบแลนอาจเป็นได้ตั้งแต่เครือข่ายแบบง่ายๆ เช่น มีคอมพิวเตอร์สองเครื่องเชื่อมต่อกันด้วยสายสัญญาณไปจนถึงเครือข่ายที่สลับซับซ้อน เช่น มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นพันๆเครื่อง และมีอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ อีกมากแต่ลักษณะสำคัญของแลน ก็คือเครือข่ายประเภทนี้จะครอบคลุมพื้นที่จำกัด โทโปโลยีโทโปโลยีของเครือข่าย(Network Topology) จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามลักษณะทายกายภาพ (Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงต่ำแหน่งของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของอุปกรณ์เหล่านี้โทโปโลยีของเครือข่ายอาจจะมีผลต่อสมรรถนะของเครือข่ายได้ การเลือกโทโปโลยีของเครือข่ายต้องมีการวางแผนที่ดี เพราะโทโปโลยีจะมีผลต่อชนิดของสายสัญญาณที่ใช้ รวมถึงลักษณะการเดินสายสัญญาณนี ้ผ่านชั ้นเพดานและผนังของอาคารโทโปโลยียังเป็นตัว กำหนดลักษณะการสื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วย ต่างโทโปโลยีกันต้องใช้วิธีการสื่อสารข้อมูลที่ต่างกันและวิธีการนี้จะมีผลอย่างมากต่อประสิทธิภาพของเครือข่าย


โทโปโลยีแบบบัส ( BUS Topology ) แก้

เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆในเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับสายสัญญาณร่วม หรือบัส จะสื่อสารกันโดยใช้ที่อยู่ (Address) ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีที่อยู่ไม่ซ้ำกัน

โทโปโลยีแบบดาว ( Star topology ) แก้

คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อด้วยสัญญาณเข้ากับอุปกรณ์รวมศูนย์ที่เรียกว่า ฮับ (Hub) สำหรับการเชื่อมต่อแบบนี้เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องใด จะส่งข้อมูลไปที่ฮับก่อนแล้วฮับจะทำหน้าที่กระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับ การต่อแบบนี้เริ่มใช้ในสมัยแรกๆ โดยการเชื่อมต่อเทอร์มินอลเข้ากับเครื่องเมนเฟรม

โทโปโลยีแบบวงแหวน ( Ring Topology ) แก้

เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรกเชื่อมต่อกับสถานสุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำสารวิ่งไปบนสายสัญญาณของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเองต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป

โทโปโลยีแบบเมซ ( Mesh Topology ) แก้

เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุกๆเครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก

อ้างอิง.[2]

  1. [1]
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 [2] อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "test" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน

WAN Technology แก้

[|การเชื่อมต่อ LAN ด้วย WAN]] WAN (Wide Area Network) เปนเทคโนโลยีที่ใชสำหรับการเชื่อมตอ LAN (Local Area Network)ที่อยูหางไกลกันและไมสามารถเชื่อมตอกันไดโดย LAN ตัวอยางเครือขาย WAN ที่รูจักกันดีและเปนเครือขายที่ใหญในโลก คืออินเทอรเน็ต ซึ่งเปนเครือขายที่ครอบครอมคลุมทั่วโลกขอจำกัดในการออกแบบเครือขาย WANนั่นคือระยะทาง เพราะไมวาจะเปนสัญญาณประเภทใดก็แลวแตเมื่อตองสงไประยะไกลๆ กำลังของสัญญาณนั้นๆ ก็จะออนลง ซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพในการรับสงขอมูลการออกแบบ WAN นั้นจะเปนการแลกเปลี่ยนแบนดวิธเพื่อระยะทาง ดังนั้นจึงทำใหแบนดวิธของ WAN นอยกวาของ LAN มากแตรับสงขอมูลไดระยะที่ไกลกวา

เครือขาย WAN ประกอบดวยซับเน็ตยอยๆ ดังนั้น เสนทางในการถายโอนขอมูลจึงตองสงจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดหนึ่งในแตละซับเน็ตและก็ใชวาทุกๆ โหนดจะมีลิงกเชื่อมตอเขาดวยกัน เหมือนกับโทโพโลยีแบบเมช โดยบางโหนดอาจมีลิงกที่เชื่อมตอกับโหนดตัวเองมากกวาหนึ่งลิงกในขณะที่ลิงกบางลิงกมีการเชื่อมตอกับบางโหนดเทานั้น แตก็สามารถใชเทคนิคดวยการสวิตชไป มาระหวางโหนดของลิงกตางๆ เพื่อไปถึงจุดหมายปลายทางไดเรียกวาเทคนิคนี้วา เครือขายสวิตชิง(Switching Network)

เทคนิควิธีการสวิตชิงมีอยู 3 วิธีสำคัญๆ คือเซอรกิตสวิตชิง (Circuit Switching) เมสเสจสวิตชิง (Message Switching) และแพ็กเก็ตสวิตชิง (Packet Switching) เปรียบเทียบการสื่อสารแบบเซอรกิตสวิตชิงและเมสเสจสวิตชิง

เซอร์กิตสวิตชิง (Circuit Switching) แก้

เปนกลไกสื่อสารขอมูล ที่สรางเสนทางขอมูลระหวางสถานีสงกอนที่จะทำการสงขอมูลเมื่อเสนทางดังกลาวนี้สรางแลวจะใชในการสงขอมูลไดเฉพาะสองสถานีนี้ตัวอยางที่เห็นไดชัดของระบบเซอรกิตสวิตชิง ไดแกระบบโทรศัพทนั่นเอง โทรศัพทแตละหมายเลขจะมีสายสัญญาณเชื่อมตอมายังชุมสายโทรศัพทหรือ CO (Central Office) ซึ่งมีสวิตชติดตั้งอยูระหวางชุมสายโทรศัพทจะมีการเชื่อมตอกัน ทำใหสามารถโทรศัพทไปเบอรอื่นๆไดบางครั้งอาจผานชุมสายโทรศัพทหลายๆชุมสาย ทุกครั้งที่ใชโทรศัพทจะมีเสนทางสัญญาณที่ถูกจองไวสำหรับใชในการสนทนาแตละครั้ง เมื่อเลิกใชโทรศัพทเสนทางนี้จะถูกยกเลิกและพรอมสำหรับการใชงานครั้งตอไป การสรางเสนทางผานขอมูลเซอรกิตสวิตชิงเปนขั้นตอนที่สำคัญในระบบสงสํญญาณแบบเซอรกิตสวิตชิง เฟรมขอมูลที่สงแตละการเชื่อมตอจะถูกสงผานเครือขาย โดยใชเสนทางเดียวกันทั้งหมด สำหรับหลักการทำงาน ใหพิจารณาจากรูปที่ 9-3 (a) ฝงตนทางในที่นี้คือ S ซึ่งตองการสื่อสารกับฝงปลายทางคือ T ผานเครือขายและดวยวิธีเซอรกิตสวิตชิงนั้นจะสรางเสนทาง เพื่อการสงขอมูลแบบตายตัว (Dedicated Path) ดังนั้นการเชื่อมตอจากฝงตนทาง S ไปยังปลายทางT ในที่นี้ก็ไดมีการจับจองเสนทางตามนี้คือ เสนทางดังกลาวจะถูกถือครองในระหวางการสื่อสารตลอดจนกระทั่งยุติการสื่อสารถึงจะถูกปลดออก (Release)

เมสเสจสวิตชิง (Message Switching)

เซอร์กิตสวิตชิง (Circuit Switching) แก้

เป็นระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีความชาญฉลาดมากขึ้น การทำงานในระบบผู้ส่งจะส่ง Message ไปยัง node แรกเมื่อ node แรกได้รับข้อมูลจะเก็บข้อมูล(ไว้ใน Buffer) และติดต่อไปยัง node ต่อไป เมื่อหาเส้นทางไปยัง node ต่อไปได้แล้วก็จะทำการส่งข้อมูลที่เก็บไว้ใน Buffer ออกไปยัง node นั้นและไปจนกว่าจะถึงปลายทางเรียกว่า Stort และ Forward


แพ็กเก็ตสวิตชิง (Packet Switching) แก้

การสื่อสารแบบวิธีแพ็กเก็ตสวิตชิงนี้น จัดเปนกรณีพิเศษของเมสเสจสวิตชิงดวยการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษเขาไป โดยในขั้นแรกเมื่อตองการสงหนวยขอมูลและดวยแพ็กเก็ตมีขนาดที่จำกัด ดังนั้น หากเมสเสจมีขนาดใหญกวาขนาดสูงสุดของแพ็กเก็ตจะมีการแตกออกเปนหลายๆแพ็กเก็ต ขั้นที่สอง เมื่อแพ็กเก็ตไดสงผานจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งบนเครือขาย จะมีการจัดเก็บแพ็กเก็ต เหลานั้นไวชั่วคราวบนหนวยความจำความเร็วสูง เชน RAM ซึ่งในเวลาในการประมวลผลไดรวดเร็วกวาอุปกรณที่ใชงานบนระบบเมสเสจสวิตชิงขอดีของการสื่อสารดวยวิธีแพ็กเก็ตสวิตชิงก็ คือเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีเมสเสจสวิตชิงแลวคาหนวงเวลาของแพ็กเก็ตสวิตชิงนั้นมีคานอยกวาโดยคาหนวงเวลาของแพ็กเก็ตแรกจะเกิดขึ้นเพียงชั่วครูในขณะที่แพ็กเก็ตแรกนั้นผานจำนวนจุดตางๆ บนเสนทางที่ใชหลังจากนั้นแพ็กเก็ตที่สงตามมาทีหลังก็จะทยอยสงตามกันมาอยางรวดเร็ว และหากมีการสื่อสารบนชองทางความเร็วสูงแลว คาหนวงเวลาที่เกิดขึ้นจะมีคาที่ต่ำทีเดียวโดยการ สื่อสารดวยวิธีแพ็กเก็ตสวิตชิงนี้ยังแบงออกเปน 2 วิธีดวยกันคือ วิธีดาตาแกรม (Datagram Approach) และเวอรชวลเซอรกิต (Virtual-Circuit Approach) แพ็กเก็ตสวิตชิง : วิธีสงแบบดาตาแกรม (Datagram Approach) แพ็กเก็ตสวิตชิง : วิธีสงแบบเวอรชวลเซอรกิต (Virtual-Circuit Approach) อ้างอิง.[1]

OSI model + TCP/IP model แก้

TCP/IP Model OSI Model
Application Layer Application Layer
Presentation Layer
Session Layer
Transport Layer Transport Layer
Internet Layer Network Layer
Network Access Layer Data Link Layer
Physical Layer

อ้างอิง.[1]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 [3] อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "test" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน