ประสิทธิภาพควอนตัม

ประสิทธิภาพควอนตัม (อังกฤษ: quantum efficiency) (QE) หรือ อุบัติการณ์โปรตอนถูกแปลงไปเป็นอิเล็กตรอนตามอัตราส่วน (IPCE) [1] คือ ปริมาณที่บ่งบอกถึงความไวต่อการรับแสงของอุปกรณ์ เช่น ฟิลม์สำหรับถ่ายภาพ หรือ อุปกรณ์สำหรับชาร์จประจุไฟฟ้าคู่ควบ (CCD) โดยที่เปอร์เซ็นต์ของโฟตอนของแสงที่พุ่งเข้าชนพื้นผิวที่ไวต่อปฏิกิริยาซึ่งจะทำให้เกิดขั้วคู่ โฮล-อิเล็กตรอนขึ้น มันคือการตรวจวัดความแม่นยำเที่ยงตรงของอุปกรณ์ทางไฟฟ้าที่มีความไวต่อแสง เนื่องจากพลังงานของโฟตอนขึ้นอยู่กับ (ความถูกต้องเที่ยงตรงกว่า, ได้สัดส่วนพอเหมาะกับ) ความยาวคลื่นของตัวมันเอง, QE จะถูกใช้บ่อย ๆ ในการวัดเกินกว่าในย่านของความแตกต่างของความยาวคลื่นเพื่อแสดงคุณลักษณะพิเศษของค่าประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่มีต่อแต่ละค่าระดับพลังงานของโฟตอน QE สำหรับโฟตอนที่มีพลังงานต่ำกว่าช่องว่างพลังงานนั้นจะมีค่าเป็นศูนย์ ฟิล์มถ่ายภาพโดยทั่วไปแล้วจะมีค่า QE น้อยกว่า 10%, ในขณะที่ CCDs สามารถมี QE ดีกว่า 90% ในบางช่วงของความยาวคลื่น

กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของประสิทธิภาพควอนตัมด้วยความยาวคลื่นของชิป CCD ในกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2

ประสิทธิภาพควอนตัมของเซลล์แสงอาทิตย์ แก้

ค่าประสิทธิภาพควอนตัมของเซลล์แสงอาทิตย์แสดงถึงปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่เซลล์จะผลิตได้เมื่อมีการฉายรังสีโฟตอนโดยเฉพาะของความยาวคลื่น ถ้าประสิทธิภาพควอนตัมของเซลล์ถูกนำมารวมโดยทั่วตลอดทั้งสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของพลังงานแสงอาทิตย์แล้ว, หนึ่งคือสามารถประเมินปริมาณของกระแสซึ่งเซลล์จะผลิตได้เมื่อสัมผัสกับแสงแดด

อ้างอิง แก้

  1. Shaheen, Sean (2001). "2.5% efficient organic plastic solar cells". Applied Physics Letters. 78 (6). Bibcode:2001ApPhL..78..841S. doi:10.1063/1.1345834. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-07. สืบค้นเมื่อ 20 May 2012.