ประวัติศาสตร์กฎหมาย

ประวัติศาสตร์กฎหมาย คือการศึกษาว่ากฎหมายนั้นพัฒนาตัวขึ้นมาอย่างไรและเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ประวัติศาสตร์กฎหมายมีความใกล้ชิดเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาอารยธรรม[1] และเป็นตัวที่กำหนดบริบทของให้กับประวัติศาสตร์ของสังคมอย่างกว้างขวางอีกด้วย ในบรรดานักกฎหมายและนักประวัติศาสตร์กฎหมาย ซึ่งใช้มุมมองในการมองกฎหมายในรูปแบบของความเป็นไปของพัฒนาการของกฎหมายและการอธิบายหลักกฎหมาย

กษัตริย์ฮัมมูราบีได้รับประทานประมวลกฎหมาย โดยชามาห์เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม
รัฐธรรมนูญของอินเดียเป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ซึ่งมี 444 มาตรา 12 หมวด และฉบับแก้ไขอีกจำนวนมาก
King John of England signs the Magna Carta
King John of England signs the Magna Carta

เมดิเตอร์เรเนียนโบราณ แก้

เอเชียใต้ แก้

อินเดียและจีนโบราณนั้นเป็นตัวแทนของขนบประเพณีอันโดดเด่นของกฎหมาย และยังมีสำนักแห่งทฤษฎีทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติทางกฎหมายที่เป็นอิสระอีกด้วย โดยคัมภีร์อรรถศาสตร์ (ตั้งแต่ 400 ปีก่อนคริสตกาล) และคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่คริสต์ศักราช 100) ได้มีอิทธิพลต่อบทความต่างๆ ในอินเดีย ซึ่งเนื้อหาเหล่านั้นต่างเป็นการแนะแนวทางกฎหมายซึ่งเชื่อถือได้ โดยมีปรัชญาอันเป็นศูนย์กลางแห่งมนู อันได้แก่ ความอดทน (ตบะ) และชนชั้นวรรณะ และปรัขญานี้ก็ได้ถูกกล่าวถึงไปทั่วเอเชียอาคเนย์แต่ขนบธรรมเนียมของฮินดูและกฎหมายอิสลามนั้น ถูกแทนที่ด้วยระบบกฎหมายจารีตประเพณี เมื่ออินเดียได้ตกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ และฮ่องกง ก็ได้รับเอาระบบกฎหมายจารีตประเพณีไปใช้ด้วยไปใช้ด้วย

เอเชียตะวันออก แก้

กฎหมายอิสลาม แก้

กฎหมายยุโรป แก้

จักรวรรดิโรมัน แก้

กฎหมายยุคกลาง แก้

กฎหมายยุโรปยุคใหม่ แก้

กฎหมายสหรัฐอเมริกา แก้

หมายเหตุ แก้

  1. "International law - Historical development". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-03-16.

อ้างอิง แก้

  • Farah, Paolo (August 2006). "Five Years of China WTO Membership. EU and US Perspectives about China's Compliance with Transparency Commitments and the Transitional Review Mechanism". Legal Issues of Economic Integration. 33 (3): 263–304. doi:10.54648/LEIE2006016. S2CID 153128973. SSRN 916768.
  • Barretto, Vicente (2006). Dicionário de Filosofia do Direito. Unisinos Editora. ISBN 85-7431-266-5.
  • Della Rocca, Fernando (1959). Manual of Canon Law. The Bruce Publishing Company.
  • Glenn, H. Patrick (2000). Legal Traditions of the World. Oxford University Press. ISBN 0-19-876575-4.
  • Sadakat Kadri, The Trial: A History from Socrates to O.J. Simpson, HarperCollins 2005. ISBN 0-00-711121-5
  • Kelly, J.M. (1992). A Short History of Western Legal Theory. Oxford University Press. ISBN 0-19-876244-5.
  • Gordley, James R.; von Mehren; Arthur Taylor (2006). An Introduction to the Comparative Study of Private Law. ISBN 978-0-521-68185-8.
  • Otto, Martin (2011). "Law". European History Online. สืบค้นเมื่อ November 11, 2011.
  • Sealy, L.S.; Hooley, R.J.A. (2003). Commercial Law. LexisNexis Butterworths.
  • Stein, Peter (1999). Roman Law in European History. Cambridge University Press. pp. 32. ISBN 0-521-64372-4.
  • Kempin, Jr., Frederick G. (1963). Legal History: Law and Social Change. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้