ธงชาตินครรัฐวาติกัน

รายชื่อธงนครรัฐวาติกันและธงรัฐสันตะปาปา

ธงประจำชาติ แก้

ธง ใช้เมื่อ หน้าที่ คำอธิบาย
  7 มิถุนายน 1929 – 26 พฤศจิกายน 2000 ธงประจำชาจิและธงพลเรือน ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว มีรูปกุญแจแห่งนักบุญเปโตรสีเงินและสีทองไขว้ภายใต้มงกุฎแห่งพระสันตะปาปา
  26 พฤศจิกายน 2000 – 7 มิถุนายน 2023 ธงประจำชาจิและธงพลเรือน เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว มีรูปกุญแจแห่งนักบุญเปโตรสีเงินและสีทองไขว้ภายใต้มงกุฎแห่งพระสันตะปาปา[1][2][3][4]
  7 มิถุนายน 2023 – ปัจจุบัน ธงประจำชาจิและธงพลเรือน เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว มีรูปกุญแจแห่งนักบุญเปโตรสีเงินและสีทองไขว้ภายใต้มงกุฎแห่งพระสันตะปาปา

ธงประจำพระองค์พระสันตะปาปา แก้

ธง ใช้เมื่อ หน้าที่ คำอธิบาย
  2005 – 2013 ธงประจำพระองค์พระสันตะปาปา เป็นธงรูปสามเหลี่ยมภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว และมีตราประจำพระองค์ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16
  2013 – present ธงประจำพระองค์พระสันตะปาปา เป็นธงรูปสามเหลี่ยมภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว และมีตราประจำพระองค์ของสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

ธงองครักษ์สวิส แก้

ธง ใช้เมื่อ หน้าที่ ตำอธิบาย
  2013 – ปัจจุบัน องครักษ์สวิส เป็นธงกององครักษ์สวิส ค.ศ. 1914 มีตราประจำพระองค์ของสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสและตราประจำตัวของผู้บัญชาการตนปัจจุบัน คริสตอฟ กราฟ

ธงในอดีต แก้

ธง ใช้เมื่อ หน้าที่ คำอธิบาย
  ธงกองเรือของสมเด็จพระสันตะปาปา ธงสีขาวมีตราแผ่นดินของสันตะสำนักอยู่ระหว่างรูปนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโล
  1300s ธงประจำพระองค์ของสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8
  1510s ธงประจำพระองค์ของสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10
  1520s
  1520s ใช้โดย Jacopo Pesaro นักยุทธศาสตร์การทหารของสมเด็จพระสันตะปาปา
  1540s ธงประจำพระองค์ของสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3
  1669–1771 ธงประจำเรือพระที่นั่งของสมเด็จพระสันตะปาปา ธงสีแดงมีพระเยซูบนไม้กางเขน นักบุญเปโตรและนักบุญพอล
  -1870[5] ธงประมวลสากล, ธงทหารราบ และธงพลเรือนโดยพฤตินัย[6] ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว
 
-1870 ธงสงครามและธงที่ใช้ก่อนธงประจำชาติ[7] ถูกชักขึ้นเหนือประตูปอร์ตาเปียในเหตุการณืยึกกรุงโรมเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 1870[8][9][10] ธงสีเหลืองและสีขาวมีตราแผ่นดินอยู่ตรงกลาง
  1803–1825 ธงการค้ารัฐสมเด็จพระสันตะปาปา ธงสีขาวมีตราแผ่นดินอยู่ตรงกลาง
  1849 ธงสาธารณรัฐโรมัน (ค.ศ. 1849) ธงไตรรงค์อิตาลีและมีวลี DIO E POPOLO

(พระเจ้าและประชาชน) อยู่ตรงกลาง

  1825–1870 ธงการค้ารัฐสมเด็จพระสันตะปาปา ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสองสีตามแนวตั้ง ครึ่งด้านต้นธงเป็นพื้นสีทอง ครึ่งด้านปลายธงเป็นพื้นสีขาว มีรูปกุญแจแห่งนักบุญเปโตรสีเงินและสีทองไขว้ภายใต้มงกุฎแห่งพระสันตะปาปา[1][2][3][4]

ธงที่ไม่ถูกต้อง แก้

 
ธงที่ไม่ถูกต้อง

มีการใช้ธงเวอร์ชั่นที่ไม่ถูกต้องโดยทั่วไป ในเวอร์ชั่นนี้ด้านในมงกุฏของสมเด็จพระสันตะปาปาจะเป็นสีแดงแทนที่จะเป็นสีขาว และใช้สีเหลืองหรือสีทองเฉดที่แตกต่างกันในบางส่วนของตราอาร์ม ธงวาติกันนี้ถูกใช้เป็นธงวาติกันในเวอร์ชันของวิกิพีเดียระหว่างปี 2006 ถึง 2004 และระหว่างปี 2017 ถึง 2022 และตั้งแต่นั้นมาก็แพร่หลายทางอินเทอร์เน็ต

อ้างอิง แก้

ดูเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  1. 1.0 1.1 https://www.britannica.com/topic/flag-of-Vatican-City
  2. 2.0 2.1 https://www.vaticancitytours.it/blog/the-flag-of-the-vatican-city/
  3. 3.0 3.1 https://www.vatican.va/news_services/press/documentazione/documents/sp_ss_scv/informazione_generale/legge-fondamentale_it.html
  4. 4.0 4.1 https://www.protokoll-inland.de/SharedDocs/downloads/Webs/PI/DE/Beflaggung/GenauerBetrachtet/vatikan.pdf?__blob=publicationFile&v=1
  5. "Bandiera pontificia" (ภาษาอิตาลี). Stato della cità del Vaticano. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-15. สืบค้นเมื่อ 2008-07-09. Anticamente la bandiera dello Stato pontificio era giallorossa (o per meglio dire amaranto e rossa, colori derivati dai colori dello stemma della Santa Sede), i due colori tradizionali del Senato e del Popolo romano, che vennero tuttavia sostituiti con il bianco e il giallo nel 1808, allorché Pio VII
  6. William Becker "Vatican Flags", 2018
  7. William Becker "Vatican Flags", 2018
  8. "Vaticano, la bandiera di Porta Pia ritorna dopo 141 anni". La Stampa (ภาษาอิตาลี). 2011-09-29. สืบค้นเมื่อ 2023-11-03.
  9. "MEMORIAE TRADERE. E' TORNATA IN VATICANO LA BANDIERA DEI DIFENSORI DI PORTA PIA – di Pucci Cipriani – Ricognizioni". www.ricognizioni.it. สืบค้นเมื่อ 2023-11-03.
  10. Cipriani, Pucci (2022-10-31). "È tornata in Vaticano la Bandiera dei difensori di Porta Pia" (ภาษาอิตาลี). สืบค้นเมื่อ 2023-11-03.