สฟักซ์

(เปลี่ยนทางจาก ซแฟกส์)

สฟักซ์ (ฝรั่งเศส: Sfax) หรือ เศาะฟากิส (อาหรับ: صفاقس, Ṣafāqis) เป็นเมืองในประเทศตูนิเซีย เป็นเมืองท่าทางทะเล บนฝั่งด้านเหนือของอ่าวกาแบ็ส ส่งแร่ฟอสเฟต ผลไม้ ฟองน้ำ และน้ำมันมะกอกเป็นสินค้าออก เมืองก่อตั้งในปี ค.ศ. 849 ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 พวกนอร์มันเข้ายึดครอง ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ตกเป็นของสเปน ต่อมากลายเป็นที่มั่นของโจรสลัด ฝรั่งเศสเข้าโจมตีใน ค.ศ. 1881 และเป็นฐานที่มั่นของฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่สอง สฟักซ์เป็นเมืองหลวงของจังหวัดสฟักซ์ มีประชากร 330,440 คน (สำมะโน ค.ศ. 2014)[1] ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับสองรองจากตูนิส เมืองหลวงของประเทศ[2]

สฟักซ์
เมือง
ถนนในเมืองสฟักซ์
ถนนในเมืองสฟักซ์
สฟักซ์ตั้งอยู่ในตูนิเซีย
สฟักซ์
สฟักซ์
พิกัด: 34°44′24″N 10°45′36″E / 34.74000°N 10.76000°E / 34.74000; 10.76000
ประเทศตูนิเซีย
จังหวัดสฟักซ์
ตัวแทนสฟักซ์ตะวันตก, สฟักซ์ใต้, สฟักซ์มะดีนะฮ์
ก่อตั้งค.ศ. 849
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีMounir Elloumi (Ennahda)
ความสูง0 เมตร (0 ฟุต)
ประชากร
 (2014)
 • เมือง330,440 คน
 • รวมปริมณฑล1,018,341 คน
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+1

ภูมิประเทศ แก้

ภูมิอากาศ แก้

ข้อมูลภูมิอากาศของสฟักซ์ (ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด ค.ศ. 1950–2017)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 26.8
(80.2)
32.7
(90.9)
36.9
(98.4)
37.2
(99)
41.3
(106.3)
47.8
(118)
47.2
(117)
46.8
(116.2)
43.5
(110.3)
38.2
(100.8)
34.5
(94.1)
28.6
(83.5)
47.8
(118)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 17.1
(62.8)
18.1
(64.6)
20.2
(68.4)
22.5
(72.5)
26.0
(78.8)
29.9
(85.8)
32.7
(90.9)
33.2
(91.8)
30.5
(86.9)
27.1
(80.8)
22.3
(72.1)
18.2
(64.8)
24.82
(76.67)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 11.5
(52.7)
12.3
(54.1)
14.6
(58.3)
17.2
(63)
20.9
(69.6)
24.6
(76.3)
27.3
(81.1)
28.0
(82.4)
25.6
(78.1)
22.1
(71.8)
16.8
(62.2)
12.7
(54.9)
19.47
(67.04)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.4
(43.5)
7.0
(44.6)
9.3
(48.7)
12.0
(53.6)
15.7
(60.3)
19.2
(66.6)
21.6
(70.9)
22.8
(73)
21.1
(70)
17.6
(63.7)
11.8
(53.2)
7.8
(46)
14.36
(57.85)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -2.3
(27.9)
-1.2
(29.8)
-1.0
(30.2)
2.0
(35.6)
6.1
(43)
10.6
(51.1)
13.6
(56.5)
13.2
(55.8)
11.2
(52.2)
5.2
(41.4)
2.0
(35.6)
-1.0
(30.2)
−2.3
(27.9)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 30.1
(1.185)
13.5
(0.531)
21.8
(0.858)
19.1
(0.752)
13.2
(0.52)
4.2
(0.165)
1.2
(0.047)
4.2
(0.165)
24.9
(0.98)
36.6
(1.441)
25.1
(0.988)
29.0
(1.142)
222.9
(8.776)
ความชื้นร้อยละ 65 63 63 63 62 60 59 63 65 66 65 66 63
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 3.4 3.3 3.7 2.8 1.7 0.6 0.2 0.5 2.5 3.6 2.8 2.9 28
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 198.4 201.6 238.7 258.0 310.0 333.0 378.2 347.2 273.0 241.8 210.0 195.3 3,185.2
แหล่งที่มา 1: Institut National de la Météorologie (precipitation days/humidity/sun 1961–1990)[3][4][5][note 1]
แหล่งที่มา 2: NOAA (humidity and sun 1961–1990)[7]
อุณหภูมิทะเลเฉลี่ยที่สฟักซ์[8]
มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม
16 องศาเซลเซียส (61 องศาฟาเรนไฮต์) 15 องศาเซลเซียส (59 องศาฟาเรนไฮต์) 15 องศาเซลเซียส (59 องศาฟาเรนไฮต์) 17 องศาเซลเซียส (63 องศาฟาเรนไฮต์) 19 องศาเซลเซียส (66 องศาฟาเรนไฮต์) 22 องศาเซลเซียส (72 องศาฟาเรนไฮต์) 26 องศาเซลเซียส (79 องศาฟาเรนไฮต์) 28 องศาเซลเซียส (82 องศาฟาเรนไฮต์) 27 องศาเซลเซียส (81 องศาฟาเรนไฮต์) 25 องศาเซลเซียส (77 องศาฟาเรนไฮต์) 22 องศาเซลเซียส (72 องศาฟาเรนไฮต์) 18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์)

หมายเหตุ แก้

  1. The Station ID for Sfax is 45050111.[6]

อ้างอิง แก้

  1. Dumper, Michael; Stanley, Bruce E. (2007). Cities of the Middle East and North Africa : a historical encyclopedia. Santa Barbara, Calif.: ABC-CLIO. ISBN 978-1-57607-920-1. OCLC 80014324.
  2. "Biggest Cities In Tunisia". WorldAtlas (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 10 July 2018.
  3. "Les normales climatiques en Tunisie entre 1981 2010" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  4. "Données normales climatiques 1961–1990" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  5. "Les extrêmes climatiques en Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  6. "Réseau des stations météorologiques synoptiques de la Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-05. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  7. "Sfax Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 24 January 2015.
  8. "Sfax Climate and Weather Averages, Tunisia". Weather2Travel. สืบค้นเมื่อ 19 July 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  •   คู่มือการท่องเที่ยว Sfax จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)