ซูเปอร์ฮิวแมนซามูไรไซเบอร์-สคว็อด

ซูเปอร์ฮิวแมนซามูไรไซเบอร์-สคว็อด (อังกฤษ: Superhuman Samurai Syber Squad) เป็นละครโทรทัศน์สหรัฐที่นำผลงานมาจากละครโทรทัศน์โทคุซัทสึ เด็นโคโจจินกริดแมนของประเทศญี่ปุ่นมาทำใหม่ในรูปแบบละครโทรทัศน์ฉบับอเมริกัน ผลิตโดย สึบุรายะโปรดักชัน, Ultracom Inc. และ DIC Productions, L.P. ออกอากาศเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 จนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ทางสถานีโทรทัศน์บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน มีจำนวนตอนทั้งหมด 53 ตอน

ภาพรวม แก้

ซูเปอร์ฮิวแมนซามูไรไซเบอร์-สคว็อด เป็นผลงานที่นำที่นำผลงานมาจากละครโทรทัศน์โทคุซัทสึประเทศญี่ปุ่นเรื่อง เด็นโคโจจินกริดแมน มาทำเป็นละครโทรทัศน์ของอเมริกา[1] โดยสร้างมาจากอิทธิพลของความนิยมของ พาวเวอร์เรนเจอร์ ที่ผลิตโดย ซาบันเอนเตอร์เทนเมนท์[2][3] ซึ่งแตกต่างจากพาวเวอร์เรนเจอร์ ตรงที่ฉากต่อสู้ไม่ได้ถูกถ่ายทำใหม่และฉากต่อสู้ที่ใช้แล้วถูกนำกลับมาใช้ซ้ำอีกรอบ[2][4] ฉากใหม่ทั้งหมดถ่ายทำในฉากต่างๆ และประเภทของฉากรวมถึงห้องของตัวละครหลัก, โถงทางเดิน, โรงอาหารของโรงเรียน และห้องขับยานรบของยานพาหนะ[2] ว่ากันว่าหลายตอนสามารถถ่ายทำในช่วงเวลาสั้น ๆ และถ่ายทำด้วยจำนวนเซ็ตงบประมาณที่น้อยมาก[5]

เซนแมน เมกอน และ มาร์ค ซาแร็บ ผู้เขียนบทโทรทัศน์ถูกรับจ้างงานเนื่องจากความรวดเร็วในการเขียน โดยเขียนบท 4 ตอนต่อสัปดาห์[5] โดยเมกอนได้กล่าวในช่วงเขียนบทว่า เป็น "วันที่เกาหัวตัวเองมากที่สุด" แต่เนื่องจากไม่มีการตรวจสอบบทสคริปต์ในฝั่งของ DIC นอกจากนี้ยังบอกว่าพวกเขาจึงสามารถรวมเนื้อหาเพลงของวง เดอะบีเทิลส์ ที่พวกเขาชื่นชอบไว้ในละครโทรทัศน์ได้[5]

เนื้อเรื่อง แก้

ตัวละคร แก้

ทีมซามูไร แก้

แซม คอลลิน (Sam Collins) / เซอร์โว (Servo)
แท็งเกอร์ (Tanker)
ซิดนีย์ ซิด ฟอร์เรสเตอร์ (Sydney "Syd" Forrester)
แอมป์ เอลล์ (Amp Ere)
ลัคกี้ ลอนดอน (Lucky London)

บุคคลที่เกี่ยวข้อง แก้

เจนนิเฟอร์ เจน ดอยล์ (Jennifer "Jen" Doyle)
ริมบ้า ชาชา สตาร์กี้ (Rimba "Cha-Cha" Starkey)
โยลันดา โยลี่ พลาเชต (Yolanda "Yoli" Pratchert)
เอลิซาเบธ ลิซ คอลลิน (Elizabeth "Liz" Collins)

ศัตรู แก้

กิโลคาร์น (Kilokahn)
มัลคอม ฟริงค์ (Malcolm Frink)
เมก้าไวรัส มอนสเตอร์ (Mega-Virus Monster)

ยานรบและอาวุธ แก้

ดิจิทัลคอมมูนิเคเตอร์ (Digital Communicator)
ซามูไรซอร์ด (Samurai Sword)
ซามูไรชิลด์ (Samurai Shield)
ซามูไรซิงค์ซอร์ด (Samurai Sync-Sword)
วิทเตอร์ (Vitter)
ทรัคต์ (Tracto)
โบลาร์ (Bolar)
ซีนอน (Zenon)
ซิงโคร (Synchro)
ดราก้อนแคนนอน (Dragon Cannon)
แจมบ์ (Jamb)
ทอร์บ (Torb)
ดราโก (Drago)
ฟอร์โม (Phormo)

อ้างอิง แก้

บรรณานุกรม แก้

  1. "ヒーローメモリアル「電光超人グリッドマン」". 玩具人生. 音楽専科社 (第三・第四合併号): 53. 2001-02-01. {{cite journal}}: ข้อความ "和書" ถูกละเว้น (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SF
  3. 竹書房/イオン編, บ.ก. (1995-11-30). "BonusColumn アメリカン・テレビ・ヒーローの歴史". 超人画報 国産架空ヒーロー40年の歩み. 竹書房. p. 191. ISBN 4-88475-874-9. C0076. {{cite book}}: ข้อความ "和書" ถูกละเว้น (help)
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ denofgeek
  5. 5.0 5.1 5.2 "'PUMP UP THE POWER!': A LOOK BACK AT SUPERHUMAN SAMURAI SYBER-SQUA". SYFY WIRE. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-30. สืบค้นเมื่อ 2021-04-30.