ซีเอติน (Zeatin)เป็นไซโตไคนินธรรมชาติที่เป็นอนุพันธ์ของเบสอะดีนิน พบครั้งแรกในเมล็ดข้าวโพดอ่อน ซีเอตินและอนุพันธุ์พบมากในน้ำมะพร้าว[1] ซึ่งทำให้นำน้ำมะพร้าวไปใช้ในการชักนำการพัฒนาของพืชในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชไ ด้ และยังมีรายงานการทดสอบในห้องปฏิบัติการว่าซีเอตินลดความแก่ชราของเซลล์ไฟโบรบลาสต์ของมนุษย์ได้ [2]

ซีเอติน
ชื่อ
IUPAC name
(E)-2-methyl-4- (7H-purin-6-ylamino) but-2-en-1-ol
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
  • CC(=CCNC1=NC =NC2=C1NC=N2)CO
คุณสมบัติ
C10H13N5O
มวลโมเลกุล 219.24312
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ความเป็นพิษ แก้

ความเป็นพิษเฉียบพลันในหนูมี LD50 = 2200mg/Kg

ตัวอย่างการใช้งาน แก้

  • สนับสนุนการเกิดแคลลัสเมื่อใช้ร่วมกับออกซิน
  • กระตุ้นการเกิดผล โดยฉีดพ่นในระยะดอกบาน
  • ลดการเกิดสีเหลืองผักผลไม้
  • ใช้ในการกระตุ้นการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของต้นกล้า

อ้างอิง แก้

  1. David W. S. Mok, Machteld C. Mok (1994). Cytokinins: Chemistry, Activity, and Function. CRC Press. p. 8. ISBN 0849362520. (available from Google books)
  2. Rattan, S.I.S. and Sodagam, L. (2005). "Gerontomodulatory and youth-preserving effects of zeatin on human skin fibroblasts undergoing aging in vitro". Rejuvenation Research. 8 (1): 46–57. doi:10.1089/rej.2005.8.46. PMID 15798374.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้