ชานชาลาด้านข้าง

ชานชาลาด้านข้าง
สถานีที่มีรางคู่และชานชาลาสองข้าง

ชานชาลาด้านข้าง เป็นรูปแบบชานชาลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชาลา ตั้งอยู่ตรงข้ามกัน โดยมีรางรถไฟเป็นตัวแบ่ง ส่วนใหญ่มักใช้แบ่งเป็นชานชาลารถเที่ยวขึ้น-ล่อง การก่อสร้างชานชาลาลักษณะนี้ไม่ยุ่งยาก แต่มีประสิทธิภาพน้อย เพราะไม่สะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง

สถานีรถไฟจอร์แดนฮิลล์ ในสกอตแลนด์ มีชานชาลาด้านข้างสองข้าง และสะพานลอยที่เชื่อมถึงกัน
แผนผังชานชาลาด้านข้างและสะพานลอย

รูปแบบ แก้

เนื่องจากข้ามชานชาลาด้านข้างจากฝั่งหนึ่งไปอีกฝั่ง ต้องผ่านทางรถไฟ ซึ่งบางครั้งการเดินข้ามรางอาจทำให้เกิดการอันตรายได้ จึงต้องมีวิธีการเดินผ่านที่แตกต่างกันดังนี้ ดังนี้

การใช้ในประเทศไทย แก้

 
ชานชาลาด้านข้างของสถานีหมอชิต
 
ชานชาลาด้านข้างของสถานีรถไฟสามเสน

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ (วงแหวนกาญจนาภิเษก)" (PDF). 19 กุมภาพันธ์ 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-05-13. สืบค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "รายงานฉบับสมบูรณ์ รายงานการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-ลำสาลี-มีนบุรี" (PDF). 23 ธันวาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. รายงานการศึกษาความเหมาะสมโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล ช่วง แคราย-ลำสาลี (บึงกุ่ม)[ลิงก์เสีย] โดย สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

แหล่งข้อมูลอื่น แก้