ชาติอเมริกาใต้ในฟุตบอลโลก

ฟุตบอลทีมชาติของทวีปอเมริกาใต้ในฟุตบอลโลก เป็นตัวแทนของแต่ละประเทศในการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งเป็นประเทศจากโซนอเมริกาใต้และเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ กีฬาฟุตบอลเป็นหนึ่งในกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ โดยมีสมาชิก 9 ใน 10 ทีมของสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (CONMEBOL) ที่ได้เข้าร่วมแข่งขัน ฟุตบอลโลกชายรอบสุดท้าย ฟุตบอลทีมชาติจากคอนเมบอลชนะเลิศการแข่งขัน 10 ครั้ง ได้แก่ บราซิล สร้า่งสถิติแชมป์ 5 สมัย ประเทศในคอนเมบอลเป็นเจ้าภาพการแข่งขันรอบสุดท้ายมาแล้ว 5 ครั้ง

ผลงานที่ดีที่สุดของประเทศในทวีปอเมริกาใต้ในฟุตบอลโลก

ภาพรวม แก้

1930
 
(13)
1934
 
(16)
1938
 
(15)
1950
 
(13)
1954
 
(16)
1958
 
(16)
1962
 
(16)
1966
 
(16)
1970
 
(16)
1974
 
(16)
1978
 
(16)
1982
 
(24)
1986
 
(24)
1990
 
(24)
1994
 
(24)
1998
 
(32)
2002
 
 
(32)
2006
 
(32)
2010
 
(32)
2014
 
(32)
2018
 
(32)
2022
 
(32)
2026
 
 
 
(48)
รวม
ทีม  
 
 
 
 
 
 
 
 





 






 
 
 
 
 


 
 





 
 
 




 
 
 
 
 


 
 
 
 



 
 
 




 
 
 
 



 
 
 




 
 
 
 



 
 
 
 



 
 
 
 



 
 
 
 



 
 
 
 
 


 
 
 
 
 


 
 
 
 



 
 
 
 
 


 
 
 
 
 
 

 
 
 
 
 


 
 
 
 



89
16 ทีมสุดท้าย 2[a] 4 4 2 4 2 3 5 5 4 2 37
8 ทีมสุดท้าย 0 1 2 1 2 2 3 2 3 2 1 1 2 1 2 4 3 2 2 36
4 ทีมสุดท้าย 2 0 1 2 1 1 2 0 2 1 2 0 1 1 1 1 1 0 1 2 0 1 23
2 ทีมสุดท้าย 2 0 0 2 0 1 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 0 1 15
1                     10
2           5
3       3
4           5
  1. ในปี ค.ศ. 1982 ในรอบที่สองมี 12 ทีมแข่งขันแบบแบ่งกลุ่มมีทั้งหมด 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม มีเพียงผู้ชนะเท่านั้นที่จะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ: ไม่มีรอบก่อนรองชนะเลิศ
ประเทศ จำนวนครั้ง ปี ค.ศ. ผลงานดีที่สุด
  บราซิล   22 1930, 1934, 1938, 1950, 1954, 1958, 1962, 1966, 1970, 1974, 1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  อาร์เจนตินา   18 1930, 1934, 1958, 1962, 1966, 1974, 1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  อุรุกวัย   14 1930, 1950, 1954, 1962, 1966, 1970, 1974, 1986, 1990, 2002, 2010, 2014, 2018, 2022 1
  ชิลี   9 1930, 1950, 1962, 1966, 1974, 1982, 1998, 2010, 2014 3
  ปารากวัย   8 1930, 1950, 1958, 1986, 1998, 2002, 2006, 2010 QF
  โคลอมเบีย   6 1962, 1990, 1994, 1998, 2014, 2018 QF
  เปรู   5 1930, 1970, 1978, 1982, 2018 QF
  เอกวาดอร์   4 2002, 2006, 2014, 2022 R2
  โบลิเวีย   3 1930, 1950, 1994 R1

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้