จำนวนปิโซ-วิชยรฆวัน

จำนวนปิโซ-วิชยรฆวัน หรือ จำนวนปิโซ (อังกฤษ: Pisot-Vijayaraghavan number) ในทางคณิตศาสตร์ เป็นจำนวนพีชคณิตที่มีค่ามากกว่า 1 แต่สังยุคทุกตัวมีค่าสัมบูรณ์น้อยกว่า 1

ตัวอย่างเช่น ถ้า α เป็นจำนวนอตรรกยะดีกรีสอง จะมีสังยุคเพียวตัวเดียว คือ α' ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนเครื่องหมายของรากใน α จาก เป็น

ซึ่งเงื่อนไขการเป็นจำนวนปิโซ-วิชยรฆวันคือ และ

เราพบว่า อัตราส่วนทอง φ สอดคล้องกับเงื่อนไขดังกล่าว เนื่องจาก

และ

ผลบวกของกำลังของจำนวนปิโซ-วิชยรฆวัน และกำลังของสังยุคจะมีค่าเป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น เราจึงสามารถสร้างจำนวนเกือบเต็มขึ้นจากกำลังสูง ๆ ของจำนวนปิโซ-วิชยรฆวันได้

จำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดคือรากที่เป็นจำนวนจริงของพหุนาม หรือมีค่าประมาณ 1.324718 ซึ่งรู้จักกันในชื่อ จำนวนพลาสติก

รายชื่อจำนวนปิโซ-วิชยรฆวัน แก้

จำนวนปิโซ-วิชยรฆวัน ที่มีค่าน้อยกว่าอัตราส่วนทอง มีทั้งหมด 38 จำนวน ดังนี้

ค่า รากของสมการ
1 1.3247179572447460260  
2 1.3802775690976141157  
3 1.4432687912703731076  
4 1.4655712318767680267  
5 1.5015948035390873664  
6 1.5341577449142669154  
7 1.5452156497327552432  
8 1.5617520677202972947  
9 1.5701473121960543629  
10 1.5736789683935169887  
11 1.5900053739013639252  
12 1.5911843056671025063  
13 1.6013473337876367242  
14 1.6017558616969832557  
15 1.6079827279282011499  
16 1.6081283851873869594  
17 1.6119303965641198198  
18 1.6119834212464921559  
19 1.6143068232571485146  
20 1.6143264149391271041  
21 1.6157492027552106107  
22 1.6157565175408433755  
23 1.6166296843945727036  
24 1.6166324353879050082  
25 1.6171692963550925635  
26 1.6171703361720168476  
27 1.6175009054313240144  
28 1.6175012998129095573  
29 1.6177050699575566445  
30 1.6177052198884550971  
31 1.6178309287889738637  
32 1.6178309858778122988  
33 1.6179085817671650120  
34 1.6179086035278053858  
35 1.6179565199535642392  
36 1.6179565282539765702  
37 1.6179861253852491516  
38 1.6179861285528618287  

อ้างอิง แก้

  • M.J. Bertin, A. Decomps-Guilloux, M. Grandet-Hugot, M. Pathiaux-Delefosse, J.P. Schreiber, "Pisot and Salem Numbers" , Birkhäuser (1992)
  • D.W. Boyd, "Pisot and Salem numbers in intervals of the real line" Math. Comp. , 32 (1978) pp. 1244–1260