กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาวอลเลย์บอล (อังกฤษ: Volleyball) ในกีฬาโอลิมปิกนั้น องค์กรที่ควบคุมดูแลการแข่งขันคือ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (Federation Internationale De Volleyball - FIVB)

กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาวอลเลย์บอล
หน่วยงานเอฟไอวีบี
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน
  • 1896
  • 1900
  • 1904
  • 1908
  • 1912
  • 1920
  • 1924
  • 1928
  • 1932
  • 1936
  • 1948
  • 1952

ในปี 1949 คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee-IOC) ได้ประกาศรับรองกีฬาชนิดนี้ แต่ยังอยู่ในฐานะกีฬาที่ไม่ได้มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก และในปีเดียวกันนั้นเองก็ได้มีการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกขึ้นเป็นครั้งแรก ส่วนประเภทหญิงนั้นเกิดขึ้นอีก 3 ปีต่อมา และโซเวียตก็ครองความเป็นจ้าว

ในปี 1964 วอลเลย์บอลได้รับการบรรจุในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ญี่ปุ่นซึ่งญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพ และปีแรกนั้น โซเวียตได้เหรียญทองประเภทหญิง ทั้งโซเวียตและญี่ปุ่นก็ครองดับอันดับต้นๆมาตลอดจนถึงทศวรรษที่ 80 อเมริกาเริ่มทวงความเป็นจ้าวกลับคืนมาด้วยการคว้าเหรียญทองวอลเลย์บอลประเภทชายในโอลิมปิก 2 สมัยติดต่อกัน ในปี 1984 ที่ลอสแอนเจลิส และในปี 1988 ที่โซล

ส่วนวอลเลย์บอลชายหาดมีการแข่งขันครั้งแรกในโอลิมปิก ที่แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา ในปี 1996

ผลการแข่งขัน แก้

ประเภททีมชาย แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1964
รายละเอียด
 
โตเกียว
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
ญี่ปุ่น
พบกันหมด  
โรมาเนีย
10
1968
รายละเอียด
 
เม็กซิโกซิตี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
10
1972
รายละเอียด
 
มิวนิก
 
ญี่ปุ่น
3–1  
เยอรมนีตะวันออก
 
สหภาพโซเวียต
3–0  
บัลแกเรีย
12
1976
รายละเอียด
 
มอนทรีออล
 
โปแลนด์
3–2  
สหภาพโซเวียต
 
คิวบา
3–0  
ญี่ปุ่น
10
1980
รายละเอียด
 
มอสโก
 
สหภาพโซเวียต
3–1  
บัลแกเรีย
 
โรมาเนีย
3–1  
โปแลนด์
10
1984
รายละเอียด
 
ลอสแอนเจลิส
 
สหรัฐ
3–0  
บราซิล
 
อิตาลี
3–0  
แคนาดา
10
1988
รายละเอียด
 
โซล
 
สหรัฐ
3–1  
สหภาพโซเวียต
 
อาร์เจนตินา
3–2  
บราซิล
12
1992
รายละเอียด
 
บาร์เซโลนา
 
บราซิล
3–0  
เนเธอร์แลนด์
 
สหรัฐ
3–1  
คิวบา
12
1996
รายละเอียด
 
แอตแลนตา
 
เนเธอร์แลนด์
3–2  
อิตาลี
 
ยูโกสลาเวีย
3–1  
รัสเซีย
12
2000
รายละเอียด
 
ซิดนีย์
 
ยูโกสลาเวีย
3–0  
รัสเซีย
 
อิตาลี
3–0  
อาร์เจนตินา
12
2004
รายละเอียด
 
เอเธนส์
 
บราซิล
3–1  
อิตาลี
 
รัสเซีย
3–0  
สหรัฐ
12
2008
รายละเอียด
 
ปักกิ่ง
 
สหรัฐ
3–1  
บราซิล
 
รัสเซีย
3–0  
อิตาลี
12
2012
รายละเอียด
 
ลอนดอน
 
รัสเซีย
3–2  
บราซิล
 
อิตาลี
3–1  
บัลแกเรีย
12
2016
รายละเอียด
 
รีโอเดจาเนโร
 
บราซิล
3–0  
อิตาลี
 
สหรัฐ
3–2  
รัสเซีย
12
2020
รายละเอียด
 
โตเกียว
 
ฝรั่งเศส
3–2  
อาร์โอซี
 
อาร์เจนตินา
3–2  
บราซิล
12
2024
รายละเอียด
 
ปารีส

ประเภททีมหญิง แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1964
รายละเอียด
 
โตเกียว
 
ญี่ปุ่น
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
โรมาเนีย
6
1968
รายละเอียด
 
เม็กซิโกซิตี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
ญี่ปุ่น
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
เปรู
8
1972
รายละเอียด
 
มิวนิก
 
สหภาพโซเวียต
3–2  
ญี่ปุ่น
 
เกาหลีเหนือ
3–0  
เกาหลีใต้
8
1976
รายละเอียด
 
มอนทรีออล
 
ญี่ปุ่น
3–0  
สหภาพโซเวียต
 
เกาหลีใต้
3–1  
ฮังการี
8
1980
รายละเอียด
 
มอสโก
 
สหภาพโซเวียต
3–1  
เยอรมนีตะวันออก
 
บัลแกเรีย
3–2  
ฮังการี
8
1984
รายละเอียด
 
ลอสแอนเจลิส
 
จีน
3–0  
สหรัฐ
 
ญี่ปุ่น
3–1  
เปรู
8
1988
รายละเอียด
 
โซล
 
สหภาพโซเวียต
3–2  
เปรู
 
จีน
3–0  
ญี่ปุ่น
8
1992
รายละเอียด
 
บาร์เซโลนา
 
คิวบา
3–1  
ทีมรวมเฉพาะกิจ
 
สหรัฐ
3–0  
บราซิล
8
1996
รายละเอียด
 
แอตแลนตา
 
คิวบา
3–1  
จีน
 
บราซิล
3–2  
รัสเซีย
12
2000
รายละเอียด
 
ซิดนีย์
 
คิวบา
3–2  
รัสเซีย
 
บราซิล
3–0  
สหรัฐ
12
2004
รายละเอียด
 
เอเธนส์
 
จีน
3–2  
รัสเซีย
 
คิวบา
3–1  
บราซิล
12
2008
รายละเอียด
 
ปักกิ่ง
 
บราซิล
3–1  
สหรัฐ
 
จีน
3–1  
คิวบา
12
2012
รายละเอียด
 
ลอนดอน
 
บราซิล
3–1  
สหรัฐ
 
ญี่ปุ่น
3–0  
เกาหลีใต้
12
2016
รายละเอียด
 
รีโอเดจาเนโร
 
จีน
3–1  
เซอร์เบีย
 
สหรัฐ
3–1  
เนเธอร์แลนด์
12
2020
รายละเอียด
 
โตเกียว
 
สหรัฐ
3–0  
บราซิล
 
เซอร์เบีย
3–0  
เกาหลีใต้
12
2024
รายละเอียด
 
ปารีส

ตารางสรุปเหรียญรางวัล แก้

รวมทั้งหมด แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  สหภาพโซเวียต (URS)74112
2  บราซิล (BRA)54211
3  สหรัฐ (USA)43411
4  ญี่ปุ่น (JPN)3339
5  จีน (CHN)3126
6  คิวบา (CUB)3025
7  รัสเซีย (RUS)1326
8  เนเธอร์แลนด์ (NED)1102
9  โปแลนด์ (POL)1023
10  ยูโกสลาเวีย /
  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
1012
11  ฝรั่งเศส (FRA)1001
12  อิตาลี (ITA)0336
13  เยอรมนีตะวันออก (GDR)0202
14  บัลแกเรีย (BUL)0112
  เชโกสโลวาเกีย (TCH)0112
  เซอร์เบีย (SRB)0112
17  ทีมรวม (EUN)0101
  เปรู (PER)0101
  อาร์โอซี (ROC)0101
20  อาร์เจนตินา (ARG)0022
21  เกาหลีเหนือ (PRK)0011
  เกาหลีใต้ (KOR)0011
  โรมาเนีย (ROU)0011
รวม (23 ประเทศ)30303090

ตารางเหรียญทีมชาย แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  บราซิล (BRA)3306
2  สหภาพโซเวียต (URS)3216
3  สหรัฐ (USA)3025
4  รัสเซีย (RUS)1124
5  ญี่ปุ่น (JPN)1113
6  เนเธอร์แลนด์ (NED)1102
7  ยูโกสลาเวีย (YUG)1012
8  ฝรั่งเศส (FRA)1001
  โปแลนด์ (POL)1001
10  อิตาลี (ITA)0336
11  เชโกสโลวาเกีย (TCH)0112
12  บัลแกเรีย (BUL)0101
  ไต้หวัน (ROC)0101
  เยอรมนีตะวันออก (GDR)0101
15  อาร์เจนตินา (ARG)0022
16  คิวบา (CUB)0011
  โรมาเนีย (ROU)0011
รวม (17 ประเทศ)15151545

ตารางเหรียญทีมหญิง แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  สหภาพโซเวียต4206
2  จีน3126
3  คิวบา3014
4  ญี่ปุ่น2226
5  บราซิล2125
6  สหรัฐ1326
7  รัสเซีย0202
8  เซอร์เบีย0112
9  ทีมรวม0101
  เปรู0101
  เยอรมนีตะวันออก0101
12  โปแลนด์0022
13  บัลแกเรีย0011
  เกาหลีเหนือ0011
  เกาหลีใต้0011
รวม (15 ประเทศ)15151545

ผู้เล่นทรงคุณค่า แก้

หมายเหตุ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Ngapeth named MVP of men's Tokyo 2020 Dream Team". volleyballworld.com. 7 August 2021. สืบค้นเมื่อ 7 August 2021.
  2. "News detail – Olympic Countdown – Barcelona rocks to a Latin American rhythm – FIVB – Olympic Games – Rio 2016". rio2016.fivb.com. สืบค้นเมื่อ 30 April 2018.
  3. "FIVB:#Rio2016 women's #Volleyball Dream Team". fivb.com. 20 Aug 2016. สืบค้นเมื่อ 20 Aug 2016.
  4. "Larson leads women's Tokyo 2020 Dream Team". volleyballworld.com. 8 August 2021. สืบค้นเมื่อ 8 August 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้