กองทัพอินเดีย (เทวนาครี: भारतीयसशस्त्रसेनाएं ) เป็นกำลังทหารของสาธารณรัฐอินเดีย ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตลอดจนกำลังกึ่งทหาร กองทัพอินเดียอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม นำโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด

กองทัพอินเดีย
  भारतीय सशस्त्र सेनाएं  
ตรากองทัพอินเดีย
เหล่าIndian Army seal กองทัพบกอินเดีย

Indian Navy seal กองทัพเรืออินเดีย
Indian Air Force Seal กองทัพอากาศอินเดีย

หน่วยรักษาชายฝั่ง
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดประธานาธิบดี เทราปที มุรมู
นายกรัฐมนตรีนเรนทระ โมที
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมราชนาถ สิงห์
เสนาธิการกองทัพพลเอก อานิล ชัวฮาน
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18 ปี
การเกณฑ์ไม่มี
ประชากร
วัยบรรจุ
319,129,420 ชาย, อายุ 16–49 (2010),
296,071,637 หญิง, อายุ 16–49 (2010)
ประชากร
ฉกรรจ์
249,531,562 ชาย, อายุ 16–49 (2010),
240,039,958 หญิง, อายุ 16–49 (2010)
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
12,151,065 ชาย (2010),
10,745,891 หญิง (2010)
ยอดประจำการ1,325,000 (อันดับที่ 3)
ยอดสำรอง1,155,000
รายจ่าย
งบประมาณ$41,000 ล้าน (ปีงบประมาณ 2012) (อันดับที่ 9)
ร้อยละต่อจีดีพี2.3% (ปี 2012)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศHeavy Vehicles Factory
Bharat Electronics Limited
Gun Carriage Factory Jabalpur
Hindustan Aeronautics Limited
Ishapore Rifle Factory
Ordnance Factories Organization
Tata Motors
Heavy Alloy Penetrator Project
Mazagon Dock Limited
Cochin Shipyard
Bharat Dynamics
Bajaj Auto - Joint Venture - Rolta India Ltd
Mahindra & Mahindra
Ashok Leyland
Shaktiman truck
Maruti Suzuki
แหล่งผลิตนอกประเทศ รัสเซีย
 อิสราเอล
 ฝรั่งเศส[1]
 สหรัฐ
 บัลแกเรีย
 ยูเครน
 สหราชอาณาจักร
 อิตาลี
 เบลเยียม
 แอฟริกาใต้
 บราซิล
มูลค่านำเข้าต่อปีรีสเซีย
มูลค่าส่งออกต่อปีพม่า, เนปาล,ศรีลังกา, เอกวาดอร์,มัลดีฟส์
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติประวัติศาสตร์ทางทหารของอินเดีย
กองทัพบริติชราช
กองทัพแห่งชาติอินเดีย
ยศกองทัพอินเดีย

ในปี 2010 กองทัพอินเดียมีกองกำลังพร้อมรบอยู่ที่ 1,325,000 นาย และมีกำลังพลสำรองอยู่ที่ 1,155,000 นาย ทำให้กองทัพอินเดียเป็นหนึ่งในกองกำลังทางทหารที่ใหญ่ที่สุดในแง่ของบุคลากร

ประวัติ แก้

โครงสร้าง แก้

บุคลากร แก้

กำลังพลประจำการ แก้

กำลังพลสำรอง แก้

งบประมาณ แก้

ยุทธภัณฑ์ แก้

อาวุธประจำกาย แก้

อาวุธประจำหน่วย แก้

การศึกษา แก้

ความสัมพันธ์ทางทหาร แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "India / Aircraft / Jianjiji / Fighter". Stockholm International Peace Research Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 มกราคม 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้