กวางบึง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Cervidae
สกุล: Rucervus
สปีชีส์: R.  duvaucelii
ชื่อทวินาม
Rucervus duvaucelii
(G. Cuvier, 1823)
อดีต (เหลือง); ปัจจุบัน: duvaucelii (แดง); branderi (เขียว); ranjitsinhi (ฟ้า)
ชื่อพ้อง[2]
  • Cervus duvaucelii G. Cuvier, 1823
  • Cervus eldi M'Clelland, 1842ซันไก

กวางบึง หรือ บาราซิงก้า[3] (อังกฤษ: Barasingha, Swamp deer; ฮินดี: बारह सिंगा; เบงกอล: বারশিঙ্গা; อัสสัม: দল-হৰিণা) เป็นกวางที่พบในตอนเหนือและตอนกลางของประเทศอินเดียและทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเนปาล อดีตพบในประเทศปากีสถานและบังกลาเทศ[1] ชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งตามชื่อนักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส อาลเฟรด ดูโวเซล (Alfred Duvaucel[4])

คุณสมบัติที่โดดเด่นที่สุดของกวางบึงคือเป็นกวางที่มีกิ่งบนเขา 10 ถึง 14 กิ่งในกวางตัวผู้ที่โตเต็มวัย บางตัวมีถึง 20 กิ่ง ชื่อมาจากลักษณะซึ่งแปลว่า "เขา 12 กิ่ง" ในภาษาฮินดี[5] ในภาษาอัสสัมเรียกว่า dolhorina; dol แปลว่าบึง ในอินเดียตอนกลางเรียกว่า goinjak (ตัวผู้) หรือ gaoni (ตัวเมีย)

ลักษณะ แก้

กวางบึงเป็นกวางขนาดใหญ่พอสมควร สูง 119–135 ซm (47–53 in) จรดไหล่ หัวถึงลำตัวยาว 180 ซm (71 in) ตัวผู้สูงมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ตัวผู้หนัก 170–283 กก. (370–620 ปอนด์) ตัวเมียหนัก 130–145 กก. (290–320 ปอนด์)[6][7] เขายาวประมาณ 75 ซm (30 in) เส้นรอบวง 13 ซm (5.1 in)[8] เท่าที่บันทึกไว้ยาวสุด 104.1 ซm (41.0 in)[5]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Duckworth, J.W., Samba Kumar, N., Chiranjibi Prasad Pokheral, Sagar Baral, H., Timmins, R.J. (2008). Rucervus duvaucelii. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 5 April 2009. Database entry includes a brief justification of why this species is of vulnerable.
  2. "Rucervus duvaucelii (G. Cuvier, 1823)". itis.gov. สืบค้นเมื่อ 9 December 2014.
  3. Grubb, Peter (16 November 2005). Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M., eds. ed. Mammal Species of the World (3rd ed.) เก็บถาวร 2012-03-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). pp. 668–669. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494
  4. Cuvier, G. (1823). Recherches sur les ossemens fossiles de quadrupèdes. Nouvelle édition, Tome Quatrième. Dufour & d'Ocagne, Paris, Amsterdam.
  5. 5.0 5.1 Prater, S. H. (1948) The book of Indian animals. Oxford University Press. (10th impression)
  6. Ungulates[ลิงก์เสีย]. Oldwww.wii.gov.in. Retrieved on 2012-08-23.
  7. Barasingha – Cervus duvaucelii : WAZA : World Association of Zoos and Aquariums. WAZA. Retrieved on 2012-08-23.
  8. "Swamp Deer / Barasingha". wildlywise.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-25. สืบค้นเมื่อ 2012-12-12.

หนังสืออ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Rucervus duvaucelii ที่วิกิสปีชีส์